ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เอกลักษณ์ จันเทร์มะ
Other Authors: ปราโมทย์ โศจิศุภร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35935
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1019
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.35935
record_format dspace
spelling th-cuir.359352019-10-02T06:35:23Z ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร Effects of gravitation field on the flow of ocean current เอกลักษณ์ จันเทร์มะ ปราโมทย์ โศจิศุภร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ กระแสน้ำ ความโน้มถ่วง Gravitation Ocean currents วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลสนามโน้มถ่วงและการหมุนของโลกในเชิงทฤษฎีที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริภูมิเวลา 4 มิติ ซึ่งมีผลต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทรจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปแทนกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันที่เป็นพื้นฐานสมการเนเวียร์–สโตกต์บนปริภูมิเวลา 4 มิติแบบระบบยูคลิด โดยเริ่มต้นนั้นพิจารณาจากเคอร์เมทริกและพบว่าค่ากำลังสองของโมเมนตัมเชิงมุมต่อมวลของโลกมีค่าประมาณ 10⁻¹³ หรือเรียกว่าการหมุนของเคอร์แบบช้า ดังนั้นจึงลดรูปเมทริกเทนเซอร์ดังกล่าวให้อยู่ในรูปชวอสชาย์เมทริกเพื่อนำไปคำนวณสมการจีโอเดสิก และผลการคำนวณค่ารัศมีชวอสชาย์ของโลกมีค่าประมาณ 9x10⁻³ หรือสามารถจัดสนามแรงโน้มถ่วงของโลกเป็นสนามแบบอ่อน พร้อมทั้งความเร็วของกระแสน้ำมีค่าน้อยกว่าความเร็วแสง จึงได้สมการจีโอเดสิกที่อยู่ในรูปแบบสมการการเคลื่อนที่ของนิวตัน รวมทั้งจากสมการเนเวียร์–สโตกต์บนปริภูมิเวลา 4 มิติแบบนอกระบบยูคลิด เมื่อคำนวณค่าริชชี่เทนเซอร์แรงค์ 2 พบว่ามีค่าเข้าใกล้ศูนย์ จึงทำให้สมการเนเวียร์-สโตกต์บนปริภูมิเวลา 4 มิติแบบนอกระบบยูคลิดจึงถูกลดรูปได้สมการเนเวียร์–สโตกต์บนปริภูมิเวลา 4 มิติแบบระบบยูคลิด ดังนั้นอิทธิพลสนามโน้มถ่วงและการหมุนของโลกมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริภูมิเวลา 4 มิติน้อยมาก เนื่องจากการหมุนของโลกจัดอยู่ในแบบการหมุนของเคอร์แบบช้าและอิทธิพลสนามโน้มถ่วงของโลกจัดเป็นสนามแบบอ่อน This research studies the theoretical influence of the earth’s gravitational and rotation to the change in space and time. The flow of the ocean current will be described using the general relativity theory instead of the Newton’s laws of motion which is based on the Navier-Stokes equation in the Euclidean space. First, Kerr matrix is determined. The square of the angular momentum of the earth’s mass was found to be about 10⁻¹³ which identified the Kerr matrix as slow Kerr. With slow Kerr, matrix tensor in the geodesic equation can be reduced to the Schwarzschild matrix. The radius of the earth’s Schwarzschild was found to be about 9x10⁻³ which identified the gravitation field as weak field. Because the ocean current speed is many orders less than the speed of light, therefore, the geodesic equation can be reduced to the Newton’s equation of motion. (or the Navier-Stokes equation) in non-Euclidean space. And when the Ricci tensor values were found to be approximately zero, then the Navier-Stokes equation in non-Euclidian space can be reduced to the Navier-Stokes equation in the Euclidean space. Therefore, the presence of the earth’s gravitational and rotation do not have the effect on the four-dimensional space and time because the Earth’s rotation is rather slow and the earth’s of gravitational field is rather weak. 2013-09-17T05:41:51Z 2013-09-17T05:41:51Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35935 10.14457/CU.the.2010.1019 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1019 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กระแสน้ำ
ความโน้มถ่วง
Gravitation
Ocean currents
spellingShingle กระแสน้ำ
ความโน้มถ่วง
Gravitation
Ocean currents
เอกลักษณ์ จันเทร์มะ
ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 ปราโมทย์ โศจิศุภร
author_facet ปราโมทย์ โศจิศุภร
เอกลักษณ์ จันเทร์มะ
format Theses and Dissertations
author เอกลักษณ์ จันเทร์มะ
author_sort เอกลักษณ์ จันเทร์มะ
title ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
title_short ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
title_full ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
title_fullStr ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
title_full_unstemmed ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
title_sort ผลของสนามโน้มถ่วงต่อการไหลของกระแสน้ำในมหาสมุทร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35935
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1019
_version_ 1724629699500441600