รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36159 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1572 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.36159 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน -- การฝึกอบรม Educational leadership School administrators -- Training of |
spellingShingle |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน -- การฝึกอบรม Educational leadership School administrators -- Training of กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
author2 |
ชญาพิมพ์ อุสาโห |
author_facet |
ชญาพิมพ์ อุสาโห กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน |
author_sort |
กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน |
title |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
title_short |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
title_full |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
title_fullStr |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
title_full_unstemmed |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
title_sort |
รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36159 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1572 |
_version_ |
1724629732505419776 |
spelling |
th-cuir.361592019-10-18T03:59:40Z รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา A model of strategic leadership development for secondary school administrators กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน ชญาพิมพ์ อุสาโห พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ ภาวะผู้นำทางการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน -- การฝึกอบรม Educational leadership School administrators -- Training of วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์และการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีวิธีดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2,362 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง มีจำนวน 340 คน จาก 5 ภูมิภาค และจำแนกตามขนาดโรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 1,059 คน คิดเป็นร้อยละ 80.54 ได้แก่ 1) ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 36 คน 2) ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 255 คน 3) รองผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 254 คน 4) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 257คน 5) ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 257 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็นและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีสภาพปัจจุบันสูงสุด คือ การสร้างสรรค์กลยุทธ์ด้วยจินตนาการที่หลากหลาย ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีสภาพที่พึงประสงค์สูงสุดคือ การรับรู้ ความเข้าใจ การคิดรวบยอดและการคิดอย่างมีกลยุทธ์ ผลการประเมินความต้องการจำเป็น พบว่า ด้านที่มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ การคิดเชิงปฏิวัติ สภาพปัจจุบันของการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีสภาพปัจจุบันสูงสุด คือ การกำหนดวิสัยทัศน์ ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีสภาพที่พึงประสงค์สูงสุดคือ การกำหนดวิสัยทัศน์ ผลการประเมินความต้องการจำเป็น พบว่า ด้านที่มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ การคิดเชิงปฏิวัติ รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา คือรูปแบบการเปลี่ยนแปลงจิตสำนึกและสร้างกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลง รูปแบบมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ของการนำไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด This research is the Descriptive Research and the objectives are; 1) to study the current and expected states 0f the strategic leadership performance of the secondary school administrators and, 2) to develop a model to improve the strategic leadership performance of the secondary school administrators. The subject of the study comprised four steps. The samples are the directors of the secondary schools who are under the Office Basic Education Commission 2,362 persons. The size of the samples is 340 persons from five regions and divided according to the size of the schools. The samples are 1,059 persons, 80.54 percentage. This includes 1) 36 Educational Service Area persons. 2) 255 school directors 3) 254 assistant directors 4) 257 the head of Educational Department 5) 257 the Chairman of School Board. The tools for research include questionnaires And evaluation paper for the suitable and probability. The collected data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and priority needs index. The research result can summarize as follows : The current state of strategic leadership performance of secondary school administrators was performed at a high level as a whole and while considering separately, all were performed at a high level as respectively ; Strategy creation with various imaginations. The current state of strategic leadership performance of secondary school administrators is in the high level like the Determined Vision. The Revolutionary Thinking is the highest need. A model of strategic leadership development for secondary school administrators is the form of conscious changing and build up the strategy for changing. This model is valid and the possibility of implement is at the highest level. 2013-10-15T04:35:21Z 2013-10-15T04:35:21Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36159 10.14457/CU.the.2012.1572 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1572 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |