การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ
Other Authors: ตุลย์ มณีวัฒนา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36246
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.36246
record_format dspace
spelling th-cuir.362462013-10-17T03:33:08Z การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร Optimum design of a dedicated make-up air unit for Bangkok เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ ตุลย์ มณีวัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคาร -- การระบายอากาศ -- ไทย -- กรุงเทพฯ เครื่องเติมอากาศ -- การออกแบบ Buildings -- Ventilation -- Thailand -- Bangkok dedicated make-up air unit -- Design วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 เครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระ (DOAS) เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่เติมอากาศจากภายนอกเข้าสู่อาคารขนาดใหญ่เพื่อให้เกิดการระบายอากาศตามมาตรฐาน และยังมีหน้าที่อื่นๆ อีกด้วยอาทิเช่น การอัดความดันในอาคาร และ การจัดการกับความร้อนแฝงที่เกิดขึ้นภายในอาคาร เป็นต้น ปัจจุบันได้มีการนำเอา DOAS เหล่านี้มาใช้ในอาคารประเภทต่างๆ ภายในกรุงเทพมหานครมากขึ้น แต่จากการศึกษาในเบื้องต้นพบว่า การออกแบบ DOAS ที่เหมาะสม มิใช่เรื่องที่จะกระทำได้โดยง่าย เนื่องจาก DOAS เหล่านี้ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานมากและมีองค์ประกอบภายในที่หลากหลาย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทำการออกแบบ DOAS ที่มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานในอาคาร 4 ประเภท ที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร อันได้แก่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล และโรงแรม การออกแบบจะกระทำโดยการสร้างแบบจำลองของ DOAS จำนวน 9 รูปแบบแล้วใช้โปรแกรมจำลองการใช้พลังงาน (EnergyPlus) ศึกษาเปรียบเทียบการใช้พลังงานรวมตลอดทั้งปีของ DOAS แต่ละรูปแบบ องค์ประกอบภายในของอุปกรณ์ที่ใช้ ครอบคลุมทั้ง คอยล์เย็น, ฮีตไปป์, รันอะราวด์คอยล์, เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนสัมผัสแบบหมุน, วงล้อเอนทาลปี และวงล้อดูดความชื้นแบบแอคทีพ ผลจากการจำลองระบบสามารถสรุปได้ว่า DOAS ที่เหมาะสมกับการใช้งานในอาคาร 3 ประเภทคือ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และโรงแรม ควรจะมีองค์ประกอบภายในที่ประกอบไปด้วยวงล้อเอนทาลปี คอยล์เย็น และรันอะราวด์คอยล์ ซึ่งสามารถลดพลังงานที่ใช้ทั้งหมดเมื่อเทียบกับเครื่องเติมอากาศทั่วไปที่มีเพียงคอล์ยเย็น ได้ประมาณ 15-30% ส่วนอาคารประเภทโรงพยาบาลไม่สามารถใช้วงล้อเอนทาลปี กับอากาศที่ระบายได้ เพราะอากาศที่ระบายออกจากอาคารไม่สะอาด ดังนั้น เครื่องเติมอากาศจึงมีองค์ประกอบภายในเหลืออยู่เพียงรันอะราวด์คอยล์ และคอยล์เย็น ซึ่งสามารถลดพลังงานที่ใช้ได้ประมาณ 10% A dedicated make-up air unit (DOAS) is a device that supplies outdoor air from outside into large building to meet the requirements of ventilation standards. It is also used to pressurize the building and remove building latent load. So far, there are many buildings in Bangkok that using them and many more will be using them in the near future. Preliminary study has shown that the design and selection for the appropriate DOAS for Bangkok is not quite straightforward. This is because these DOAS have many possible internal configurations and their energy consumption is large. The objective of this research is to design the DOAS that suitable for use in four typical types of building in Bangkok, i.e., office buildings, department stores, hotels, and hospitals. The design will be done by constructing 9 DOAS models for each building type and run them through the energy simulation program (EnergyPlus) to obtain the yearly energy consumption for comparisons. The suitable internal configurations for each DOAS model are considered from all the possible devices, i.e., cooling coil, heat pipe, run around coil, sensible wheel, passive desiccant wheel or enthalpy wheel, and active desiccant wheel. The simulation results show that the suitable configurations of DOAS for office buildings, department stores and hotels consist of a enthalpy wheel, a run around coil, and a cooling coil. The results show the reduction of around 15-30% energy consumption from the traditional cooling coil-only DOAS. For the hospital building, the passive desiccant wheel and the sensible wheel could not be used due to the possible contamination of the exhaust air. Therefore, the only possible configuration for this case is the combination of a cooling coil and a run around coil. The reduction in energy consumption is only around 10% 2013-10-17T03:29:17Z 2013-10-17T03:29:17Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36246 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อาคาร -- การระบายอากาศ -- ไทย -- กรุงเทพฯ
เครื่องเติมอากาศ -- การออกแบบ
Buildings -- Ventilation -- Thailand -- Bangkok
dedicated make-up air unit -- Design
spellingShingle อาคาร -- การระบายอากาศ -- ไทย -- กรุงเทพฯ
เครื่องเติมอากาศ -- การออกแบบ
Buildings -- Ventilation -- Thailand -- Bangkok
dedicated make-up air unit -- Design
เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ
การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 ตุลย์ มณีวัฒนา
author_facet ตุลย์ มณีวัฒนา
เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ
format Theses and Dissertations
author เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ
author_sort เชาวนพันธุ์ เหล็กขำ
title การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
title_short การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
title_full การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
title_fullStr การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
title_sort การออกแบบเครื่องเติมอากาศภายนอกชนิดอิสระที่เหมาะสมสำหรับกรุงเทพมหานคร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36246
_version_ 1681413401535840256