การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36477 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.36477 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรม -- อาคาร โทรทัศน์วงจรปิด การรักษาความปลอดภัย Chulalongkorn University. Faculty of Architecture -- Buildings Closed-circuit television |
spellingShingle |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรม -- อาคาร โทรทัศน์วงจรปิด การรักษาความปลอดภัย Chulalongkorn University. Faculty of Architecture -- Buildings Closed-circuit television ธนัช อัศวถาวร การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
author2 |
เสริชย์ โชติพานิช |
author_facet |
เสริชย์ โชติพานิช ธนัช อัศวถาวร |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ธนัช อัศวถาวร |
author_sort |
ธนัช อัศวถาวร |
title |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
title_short |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
title_full |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
title_fullStr |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
title_sort |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36477 |
_version_ |
1681413561678561280 |
spelling |
th-cuir.364772013-10-30T12:25:01Z การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด A Development of guideline for design CCTV position ธนัช อัศวถาวร เสริชย์ โชติพานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรม -- อาคาร โทรทัศน์วงจรปิด การรักษาความปลอดภัย Chulalongkorn University. Faculty of Architecture -- Buildings Closed-circuit television วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 ปัจจุบันกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (Close circuit television) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญในระบบรักษาความปลอดภัย โดยทั่วไปการออกแบบตำแหน่งจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด มักดำเนินการโดยผู้ออกแบบและมาจากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล และยังขาดมาตรฐานการออกแบบตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่ชัดเจน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตำแหน่งจุดติดตั้งและคุณสมบัติของเลนส์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ที่มีความเหมาะสมไปกับแต่ละพื้นที่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีพื้นที่ทดลอง 2 ส่วน คือ พื้นที่ภายนอก 3 พื้นที่ ได้แก่ 1. พื้นที่บริเวณลานจอดรถข้างหอประชุม 2. พื้นที่บริเวณประตูทางเข้ามหาวิทยาลัย ติดอาคารนารถ โพธิประสาท 3. พื้นที่บริเวณทางเข้า-ออก อาคารนารถ โพธิประสาท และพื้นที่ภายใน 3 พื้นที่ ได้แก่ 1. พื้นที่บริเวณทางเดินใน 2. พื้นที่บริเวณโถงหน้าลิฟท์ 3. พื้นที่บริเวณโรงอาหาร โดยเลือกอาคารนารถ โพธิประสาท เป็นกรณีทดลอง ในการทดลองได้กำหนดจุดติดตั้งที่แตกต่างกัน 3 ตำแหน่งและทดลองด้วยเลนส์ 2 ขนาด คือ 3.5 มม.และ 8 มม. เพื่อให้ได้ภาพมาคำนวณหาปริมาตรพื้นที่ที่กล้องโทรทัศน์วงจรปิดสามารถครอบคลุม และสัดส่วนของวัตถุที่ต้องการจับภาพเทียบกับขนาดของภาพบนจอ จากผลศึกษาพบว่า จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่โถงลิฟท์ ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. จะครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็นสัดส่วน 81.46% และให้ภาพที่มีขนาดความสูงคิดเป็นสัดส่วน 36.05% ได้ภาพเหมาะกับการตรวจจับ และตำแหน่งกึ่งกลาง ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม.ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่ 37.52% และให้ภาพคิดเป็น 39.53% เป็นภาพที่เหมาะกับแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่ 37.96 และให้ภาพเป็น 68.60% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่โถงลิฟท์ ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่ 12.60% และให้ภาพ 79.07% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่ทางเดิน ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 64.38% และให้ภาพ 38.37% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับและตำแหน่งกึ่งกลางด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 59.31% และให้ภาพ 37.21% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่ 28.67% และให้ภาพ 62.79% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่โถงลิฟท์ ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 20.53% และให้ภาพ 58.14% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่โรงอาหาร ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม.ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็นสัดส่วน 68.74% และให้ภาพ 37.21% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และตำแหน่งกึ่งกลาง ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็นร้อยละ 42.97 และให้ภาพร้อยละ 37.21 เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็นสัดส่วน 35.18% และให้ภาพร้อยละ 68.60% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่โรงอาหาร ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 18.60% และให้ภาพ 72.09% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่ประตูทางเข้าออกพื้นที่ ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 75.17% และให้ภาพ 27.91% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และตำแหน่งกึ่งกลาง ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 50.00% และให้ภาพ 27.91% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 38.55% และให้ภาพ 60.47% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่ทางเข้าออกพื้นที่ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 29.57%และให้ภาพ 60.47% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่เข้าออกอาคาร ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 54.40% และให้ภาพ 24.42% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับและตำแหน่งกึ่งกลางด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม.ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 46.24% และให้ภาพ 27.91% กับการดูแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 25.75 และให้ภาพที่ 53.49% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่ทางเข้าออกอาคาร ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 13.89% และให้ภาพที่ 53.49% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ จุดติดตั้งบริเวณตำแหน่งมุมพื้นที่ลานจอดรถ ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม.ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 84.38% และให้ภาพ 25.58% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และตำแหน่งกึ่งกลาง ด้วยเลนส์ขนาด 3.5 มม.ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 77.65% และให้ภาพ 27.91% เหมาะกับการดูแบบตรวจจับ และเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 80.28% และให้ภาพ 51.16% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ บริเวณตำแหน่งกึ่งกลางพื้นที่ลานจอดรถ ด้วยเลนส์ขนาด 8 มม. ครอบคลุมปริมาตรพื้นที่เป็น 74.57% และให้ภาพ 55.81% เหมาะกับการดูแบบแยกแยะ การศึกษานี้มีข้อสรุปว่า จุดติดตั้งและขนาดของเลนส์มีผลต่อปริมาตรพื้นที่ครอบคลุมมากในกรณีที่มีพื้นที่แคบ และขนาดของเลนส์มีผลมากกับพื้นที่กว้าง เช่น ลานจอดรถ โรงอาหาร ทางเดินยาว และมีข้อเสนอแนะว่าในพื้นที่โถงลิฟท์ ควรติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่ตำแหน่งมุมด้วยเลนส์ 8 มม. เพื่อให้ได้ภาพแบบแยกแยะและครอบคลุมทางเข้าออกโถงลิฟท์ พื้นที่ทางเดินในอาคาร ควรติดตั้งที่ตำแหน่งมุมด้วยเลนส์ 3.5 มม. เพื่อให้ได้ภาพแบบตรวจจับและครอบคลุมทางสัญจร พื้นที่โรงอาหาร ควรติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่ตำแหน่งมุมด้วยเลนส์ 3.5มม. เนื่องจากเป็นพื้นที่เปิดเน้นการดูความเคลื่อนไหวได้พื้นที่มากที่สุด พื้นที่ประตูทางเข้าออก มหาวิทยาลัย ควรติดตั้งที่ตำแหน่งมุมด้วยเลนส์ 8มม. เพื่อให้ได้ภาพแบบแยกแยะและครอบคลุมประตูเข้าออก พื้นที่ทางเข้าออก อาคาร ควรติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่ตำแหน่งมุมด้วยเลนส์ 3.5 มม. เพื่อให้ได้ภาพแบบตรวจจับ พื้นที่ลานจอดรถ ควรติดตั้งที่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยเลนส์ 8 มม. เพื่อให้ได้ภาพแบบแยกแยะและครอบคลุมช่องจอดทั้งสองฝั่ง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและคุ้มค่าในการลงทุนระบบมากที่สุด Close circuit television (CCTV) plays an important role in security service. In general, the positioning of a CCTV is designated by the one who designs the television and his experience. Unfortunately, it has not been standardized. As a result, the purpose of this study is to determine appropriate positioning of CCTV and the properties of its lenses. This experimental research covered the exterior and the interior of Nart Photiprasat Building. The exterior included 3 area and The interior included 3 area. The criteria for selecting the areas were that they were mainly used as a walkway and activities regularly took place there. A CCTV was designated at three different positions. At each position, two types of CCTV were installed. One was equipped with 3.5-mm lens and the other with 8-mm lens. All of the images were fed into a program to calculate the covering volume and the proportion of the actual height of an item to that of its image obtained from the CCTV. This research has result divided into different areas. Each area has the effect of percent coverage. Including the ratio of height between total image and height of the object's image. In each case use the lens different sizes installed in the same position. And if the lens is the same size install a different position. It was found that the images from lens size 3.5mm. is covering volume of the CCTV better then lens size 8mm. was as between 1.03 to 3.33 times. And set difference position of camera was found that the images from lens size 3.mm. is covering volume of the CCTV better then lens size 8mm. was as between 0.96 to 3.01 times. After analization about size of image was found that lens size 3.5mm is propose image for Detect and lens size mm. is propose image for Recognize. It can be concluded that to make this security system appropriate and cost-effective. The results of this research can be suggested that should choose the size and angle of the lens installed anywhere in the area. To support the demands of use in each area. Focused primarily on either side. As the value to most investment. 2013-10-30T12:25:01Z 2013-10-30T12:25:01Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36477 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |