สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36532 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.36532 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย (ภาคใต้) การปกครองท้องถิ่น -- ไทย (ภาคใต้) การบริหารงานบุคคล โรงเรียน -- การบริหาร -- ไทย (ภาคใต้) Basic education -- Thailand, Southern Local government -- Thailand, Southern Personnel management School management and organization -- Thailand, Southern |
spellingShingle |
การศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย (ภาคใต้) การปกครองท้องถิ่น -- ไทย (ภาคใต้) การบริหารงานบุคคล โรงเรียน -- การบริหาร -- ไทย (ภาคใต้) Basic education -- Thailand, Southern Local government -- Thailand, Southern Personnel management School management and organization -- Thailand, Southern สุรศักดิ์ จงจิต สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
เอกชัย กี่สุขพันธ์ |
author_facet |
เอกชัย กี่สุขพันธ์ สุรศักดิ์ จงจิต |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุรศักดิ์ จงจิต |
author_sort |
สุรศักดิ์ จงจิต |
title |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
title_short |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
title_full |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
title_fullStr |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
title_full_unstemmed |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
title_sort |
สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36532 |
_version_ |
1681412555341299712 |
spelling |
th-cuir.365322013-11-02T06:56:52Z สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ The state and problems of human resource management of basic education institutions transferred to local administration organizations in the South of Thailand สุรศักดิ์ จงจิต เอกชัย กี่สุขพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย (ภาคใต้) การปกครองท้องถิ่น -- ไทย (ภาคใต้) การบริหารงานบุคคล โรงเรียน -- การบริหาร -- ไทย (ภาคใต้) Basic education -- Thailand, Southern Local government -- Thailand, Southern Personnel management School management and organization -- Thailand, Southern วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารทรัพากรมนุษย์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 29 คน และครู จำนวน 222 คน จำนวน 22 โรงเรียน เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือการวางแผนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ระยะปานกลาง 2-3 ปี มีผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษา 2)การสรรหาและการคัดเลือก พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลพิจารณาจากประสบการณ์การทำงาน ผู้อำนวยการสถานศึกษาพิจารณาจัดบุคคลเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ คำนึงถึงความรู้ความสามารถ การส่งเสริมให้บุคลากรใหม่สามารถปรับตัวเข้ากับหน่วยงาน หัวหน้างานแนะนำให้คำปรึกษาในการปฏิบัติงาน และการกำหนดเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรใหม่ 3) การฝึกอบรมและพัฒนา พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือการกำหนดเป้าหมายการฝึกอบรมและพัฒนา การสรุปรายงานเสนอต่อผู้บริหารหลังจากที่ส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมและพัฒนาภายนอก 4) การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือการดำเนินการเพื่อให้บุคลากรเข้าใจแนวทางการปฏิบัติในการขอรับสวัสดิการ การแจ้งเวียนให้บุคลากรทุกคนทราบ สวัสดิการของบุคลากรที่ได้รับจากสถานศึกษาหลังจากที่มีการถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ ความรวดเร็วการขอรับสวัสดิการ การจัดสวัสดิการให้แก่บุคลากรด้านการรักษาพยาบาล 5) การประเมินผลการปฏิบัติงาน พบว่า สภาพที่ที่ปฏิบัติระดับมาก คือการวางแผนประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ การกำหนดหลักการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ชัดเจน การกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6)ความปลอดภัยและสุขภาพ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือการดูแลสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงานของบุคลากร การดูแลเรื่องความปลอดภัยในสถานศึกษา การตรวจสอบและซ่อมแซมอาคารที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอยู่เสมออยู่ การเข้าพบผู้บริหารสถานศึกษาได้โดยตรงเมื่อเกิดความคับข้องใจ 7) แรงงานสัมพันธ์ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติระดับมาก คือการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษาโดยใช้กิจกรรมความรักสามัคคีของบุคลากรภายในสถานศึกษา การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษากับชุมชน การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ความร่วมมือที่สถานศึกษาต้องการจากชุมชน To study on The State and Problems of Human Resource Management of Basic Education Institute Transferred to Local Administration Organization in the South of Thailand. While the population used for this research were comprised of 29 executives and 222 teachers with 22 schools. The research was descriptive research with the tools of questionnaires with the description of checklist, while the data was analyze by frequency distribution with percentage. Research findings are as follows : 1)Human resource planning found that it was performed at high level in planning the human resource management with medium range plan 2-3 years. There was a director of education institute who was responsible for human resource management of each educational institution 2) recruitment and selection found that there was performed at high level in selection criteria to personnel considered from working experience, the director of education institute considered to organize the personnel in various positions with consideration on the knowledge and ability, and determination on evaluation criteria on new personnel’s performance 3) training and development found that there was performed at high level in determination on the training target with development, conclusion the report to propose to the executive after delivery the personnel for outside training and development 4) payment remuneration and welfare found that there was performed at high level in operation for personnel’s understanding to the guideline of performance to request for welfare, circulation notification to all personnel for acknowledging. The personnel’s welfare received from education institute after transferred to local administration organization in the South of Thailand, the fastness to request for welfare, arrangement of medical benefit welfare for personnal 5) performance appraisal found that was performed at high level in planning on performance appraisal The director of education institute was a person to operate on determination to the evaluation principle of performance, 6) safety and health found that was performed at high level in supervision on environment and personnel’s safety working, supervision on safety in education institute, inspection and repairing to the building might cause danger frequently, meeting with the educational institute executive could be made directly when there was a grievance, 7) labor relations found of performed at high level in arrangement activity of relationship among the personnel in the education institute by using the activity of love and unity of personnel within the education institutes with community, while development good understanding between the education institutes with community was the cooperation required from the community. 2013-11-02T06:56:52Z 2013-11-02T06:56:52Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36532 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ไทย (ภาคใต้) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |