การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36572 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.36572 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การเรียนการสอนผ่านเว็บ วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Web-based instruction Science -- Study and teaching (Secondary) |
spellingShingle |
การเรียนการสอนผ่านเว็บ วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Web-based instruction Science -- Study and teaching (Secondary) วิภาวี บุตรธรรม การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
จินตวีร์ มั่นสกุล |
author_facet |
จินตวีร์ มั่นสกุล วิภาวี บุตรธรรม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วิภาวี บุตรธรรม |
author_sort |
วิภาวี บุตรธรรม |
title |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
title_short |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
title_full |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
title_fullStr |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
title_full_unstemmed |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
title_sort |
การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36572 |
_version_ |
1681410535343521792 |
spelling |
th-cuir.365722013-11-05T01:22:43Z การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 A proposed web-based science instruction based on the backward design model for seventh grade students วิภาวี บุตรธรรม จินตวีร์ มั่นสกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การเรียนการสอนผ่านเว็บ วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Web-based instruction Science -- Study and teaching (Secondary) วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของครูวิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) นำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ 1) ครูวิทยาศาสตร์จำนวน 100 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 300 คน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนตาลวิทยา ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 1 (ว 31101) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 43 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการสอบถามความคิดเห็นของครูวิทยาศาสตร์พบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการใช้การออกแบบย้อนกลับในการเรียนการสอน และมีความคิดเห็นว่าสื่อเว็บเป็นเครื่องมือที่มีความเหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิธีการสอนที่เหมาะสมสำหรับการสอนความรู้และทักษะคือ การปฏิบัติการทดลอง จากการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ และใช้ที่โรงเรียนโดยใช้เพื่อการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ทำการบ้านหรืองานที่ได้รับมอบหมาย จากการสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญพบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนบนเว็บมีความคิดเห็นว่า ครูควรสร้างเอกสารประมวลรายวิชาให้ผู้เรียนดาวน์โหลดบนเว็บ บอกจุดประสงค์บนเว็บ และบทเรียนบนเว็บเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการทบทวนบทเรียน ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มีความคิดเห็นว่า วิธีการสอนที่เหมาะสมสำหรับการสอนความรู้และทักษะคือการปฏิบัติการทดลอง การประเมินการเรียนการสอนที่เหมาะสมคือ ประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบย้อนกลับมีความคิดเห็นว่า ควรใช้คำถามสำคัญก่อนการเรียนรู้ วิธีที่เหมาะสมในการประเมินการเรียนรู้คือ การประเมินความเข้าใจ 2) รูปแบบการเรียนการสอนประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ 10 ขั้นตอน คือขั้นเตรียมการ 5 ขั้นตอน ขั้นดำเนินการ 2 ขั้นตอน และขั้นประเมินผล 3 ขั้นตอน 3) ผลการทดลองใช้รูปแบบพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นว่า องค์ประกอบและขั้นตอน มีความเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับที่มีความสอดคล้อง การนำเสนอรูปแบบ นำเสนอโดยใช้คำอธิบายประกอบแผนภาพ To 1) study the opinions of science teachers, seventh grade students and, experts concerning web-based instruction, science teaching and backward design ; 2) develop a web-based science instruction based on the backward design model for seventh grade students; 3) study the achievement of use web-based science instruction based on the backward design model for seventh grade students; and 4) propose web-based science instruction based on the backward design model for seventh grade students. The samples of this research consisted of 1) 100 science teachers, 300 seventh grade students in school under Mukdahan Area Education Office and the office of Basic Education Commission ; and 2) 43 seventh grade students in Dontanwittaya School who study in science subject in the second semester of the 2008 academic year. The findings were: 1) based on the survey, science teachers have experienced using backward design, also they agree that web media is suitable for teaching science, and the experimental method is suitable for teaching science; seventh grade students used internet most at school and, most of the times, they use internet for searching information and doing assignment. Experts specializing in web-based instruction agreed that the most effective information on web is downloadable course syllabus and inform course objective on web, and web-based lesson is appropriate for students to review lessons. Experts specializing in science teaching agreed that the experimental method is suitable for teaching science, and evaluation of teaching is appropriate before study during and after learning. Experts specializing in backward design agreed that important questions should be used before learning ,and appropriate method for assessment of learning is to assess understanding; 2) the model consists of 9 elements and 10 steps including 5 steps for lesson preparation, 2 steps for process and 3 steps for evaluation; 3) it was found that the post-test scores of students learned from this web-based science instruction based on the backward design model were statistically significant at .05 level higher than the pre-test scores, and 4) Experts agreed that elements and steps, suitable activities teaching level containing concordance presentations format presentation using annotations diagram. 2013-11-05T01:22:43Z 2013-11-05T01:22:43Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36572 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |