การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์
Other Authors: ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36676
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1549
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.36676
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความรักชาติ -- ไทย
ความรักชาติ -- เกาหลี
อัตลักษณ์ชาติพันธุ์
อัตลักษณ์
ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี
เกาหลี -- ความเป็นอยู่และประเพณี
Patriotism -- Thailand
Patriotism -- Korea
Identity (Philosophical concept)
Thailand -- Manners and customs
Korea -- Manners and customs
spellingShingle ความรักชาติ -- ไทย
ความรักชาติ -- เกาหลี
อัตลักษณ์ชาติพันธุ์
อัตลักษณ์
ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี
เกาหลี -- ความเป็นอยู่และประเพณี
Patriotism -- Thailand
Patriotism -- Korea
Identity (Philosophical concept)
Thailand -- Manners and customs
Korea -- Manners and customs
สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์
การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล
author_facet ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล
สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์
format Theses and Dissertations
author สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์
author_sort สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์
title การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
title_short การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
title_full การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
title_fullStr การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
title_full_unstemmed การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
title_sort การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36676
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1549
_version_ 1724630185209233408
spelling th-cuir.366762019-10-18T03:58:21Z การศึกษาเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี A comparative study on patriotism promotion between elementary demonstration schools in Thailand and replubic of Korea สุรธาศิณี ธนบูรณ์กาญจน์ ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ ความรักชาติ -- ไทย ความรักชาติ -- เกาหลี อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ อัตลักษณ์ ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี เกาหลี -- ความเป็นอยู่และประเพณี Patriotism -- Thailand Patriotism -- Korea Identity (Philosophical concept) Thailand -- Manners and customs Korea -- Manners and customs วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี 2) เพื่อเปรียบเทียบการส่งเสริมความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลมี 2 วิธี คือ 1) แบบสอบถามนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนละ 100 คน 2) แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนละ 5 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการเปรียบเทียบการแสดงออกด้านความรักชาติระหว่างโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาประเทศไทยและโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาสาธารณรัฐเกาหลี ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวัฒนธรรมประจำชาติ ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีประจำชาติ ด้านความนิยมสินค้า และด้านคุณธรรมจริยธรรม การแสดงออกด้านความรักชาติที่เหมือนกัน ดังนี้ การให้ความเคารพนับถือผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติ ธงชาติและเพลงชาติเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นชาติที่เราภูมิใจ นักเรียนไม่รู้สึกอายเมื่อใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ และการแสดงความเคารพต่อผู้อาวุโสเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติ การแสดงออกด้านความรักชาติที่แตกต่างกัน ดังนี้ ทุกครั้งเมื่อได้ยินเสียงเพลงชาติในที่สาธารณะนักเรียนควรยืนตรงเคารพธงชาติ นักเรียนรู้สึกภาคภูมิใจเมื่อได้เข้าร่วมกิจกรรมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนักเรียนเห็นกระเป๋าสตางค์ตกอยู่นักเรียนจะรีบนำส่งคืนเจ้าของ และนักเรียนชอบช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน 2) จากการเปรียบเทียบข้อมูลกิจกรรมการปลูกฝัง และการส่งเสริมในด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีประจำชาติ ในด้านความรักชาติ ของทั้ง 2 โรงเรียน พบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เหมือนกัน ได้แก่ เรื่องวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และการเรียนรู้ความเป็นมาและความสำคัญของประวัติศาสตร์ และด้านการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน ได้แก่ สนทนาข่าวและเหตุการณ์สำคัญช่วงเช้า ความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ สอดแทรกการรักสถาบันพระมหากษัตริย์ในทุกๆวิชา หน้าที่ของประชาชนที่พึงปฏิบัติ สอนพฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม ด้านกิจกรรมที่เหมือนกัน ได้แก่ การจัดทัศนศึกษาตามสถานที่ทางประวัติศาสตร์ การแสดงวัฒนธรรม การจัดบอร์ด วันสำคัญทางศาสนา และวันสำคัญของชาติ ด้านกิจกรรมที่แตกต่างกันได้แก่ ธรรมปฏิบัติและเลือกตั้งสภานักเรียน ซึ่งการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาประเทศไทย จะมีการสอนโดยสอดแทรกไปกับการใช้ในชีวิตประจำวัน แต่โรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาสาธารณรัฐเกาหลี จะเน้นการสอนเพื่อให้นักเรียนสร้างจิตสำนึกรักชาติและสอนให้ยอมรับแนวคิดและรับรู้ได้ด้วยจิตสำนึก The purpose of this research was 1) to study patriotism promotion between elementary demonstration schools in Thailand and Republic of Korea. 2) to compare patriotism promotion between elementary demonstration schools in Thailand and the Republic of Korea. Research methodology used quantitative and qualitative research. Data was collected by questionnaires for each of 100 students in grade 5-6 schools from two schools as well as interviews with teachers, social studies, religion and culture for each teachers in grade 5-6 schools The research findings were summarized as follows: 1) Comparison of opinion between Thai and Korea included four aspects. National culture, national tradition, the most popular products, and morals. The opinions of comparison of patriotism of two schools were alike. Those were that adults are respected to encourage others.; The flag and anthem as a symbol of national and student pride.; Students do not feel embarrassed when using their products, and showing respect for elders is encouraged. The opinions of comparison of two schools were different. Those were they should respect the flag stand and show this by standing at all the times when hearing the national anthem in public, students are proud to join in the cultural heritage of Korea, students are honest and show this by returning things like the lost wallets to the owner., Further, students love to help others without expecting anything in return. 2) Comparative of the implant activity and promotion of the national culture in terms of patriotism between Thailand and the republic of Korea found that teaching and learning emphasized cultural tradition such as learning the history; whereas teaching and learning were different; included discussions about the news in the morning, the importance of national institutions, the integration of the Royal Institution in all subjects, all people should be treated with, and; taught, appropriate behavior as well as inappropriate manners. The same activities between two schools were a trip to historical sites, bulletin boards, religious holidays and national holidays.; Different activities were dharma practice and the election of the student council. However, Thailand schools found that teaching and learning intervened in everyday life but the Republic of Korea schools emphasized conscious and believed in theorem. 2013-11-18T03:54:33Z 2013-11-18T03:54:33Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36676 10.14457/CU.the.2012.1549 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1549 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย