แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36925 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.36925 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.369252013-12-06T07:08:38Z แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท Design guidelines for the utilization of public and semi-public spaces along the street : a case study of Asoke-Nana district, Sukhumvit Road สกาวเนตร สะใบ นพนันท์ ตาปนานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ พื้นที่สาธารณะ -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) การใช้ที่ดิน -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) Public spaces -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) Land use -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมของพื้นที่ย่านอโศก-นานา โดยจุดประสงค์หลักคือ การศึกษาถึงการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะ ตลอดจนถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจพื้นที่และประมวลลักษณะทางกายภาพทั้งรูปแบบของพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะ และรูปแบบของกิจกรรมเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและปัญหา แล้วสรุปแนวทางการพัฒนาของพื้นที่ ตลอดจนการปรับปรุงรูปแบบของพื้นที่ให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่บริการย่านอโศก-นานา มีการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะที่หลากหลาย (multi-use) และซ้อนทับกันอยู่บนพื้นที่ที่จำกัดแตกต่างกันตามตำแหน่งที่ตั้ง ลักษณะของสภาพแวดล้อม หรือประเภทของกิจกรรมภายในพื้นที่ว่างตามช่วงเวลาต่างๆ แต่ก็สามารถจัดหมวดหมู่ตามลักษณะทางกายภาพได้คือ ลักษณะของรูปแบบหรือประเภทของพื้นที่ ลักษณะเชิงสัณฐานของพื้นที่ว่าง (ลักษณะการเข้าถึง ลักษณะการเปลี่ยนระดับ ลักษณะการปิดล้อม) ซึ่งนอกจากลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่หลากหลายแล้ว ความหลากหลายของกลุ่มผู้ใช้หรือกลุ่มผู้สัญจรผ่านพื้นที่นั้นยังส่งผลถึง รูปแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างที่แตกต่างกัน จากการสำรวจภาคสนามทั้งอัตราการสัญจร การเลือกเส้นทางของคนเดินเท้า และรูปแบบการจับจองพื้นที่เพื่อทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะเป็นตัวแสดงถึงความมีชีวิตชีวาของย่านและเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลายของพื้น ที่เป็นตัวดึงดูดให้มีคนจำนวนมากเข้ามาใช้พื้นที่ว่างนั้นๆ การวิเคราะห์ดังกล่าวทำให้สามารถสรุปประเภทและลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะ รวมทั้งรูปแบบของการพัฒนาการใช้ประโยชน์ในพื้นที่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ ซึ่งแนวทางในการพัฒนาจะมีบทบาทสำคัญอย่างมาก เพราะจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้และพัฒนาพื้นที่และปรับปรุงพื้นที่ที่ยังไม่ประสบผลสำเร็จภายในย่านให้ดีขึ้น โดยการเสนอรูปแบบของการพัฒนาและปรับปรุงทางกายภาพของพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะภายในย่านอโศก-นานา และนำไปสู่แนวทางในการพัฒนาพื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะภายในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง To study the spatial (physical), social and economic characteristics of Asoke-Nana district. The purpose of this research is to study the utilization of public and semi-public spaces and activity by field study and synthesis their space uses and activities, including analysis of potentials and problems and summarize as design development guidelines for the public and semi-public spaces in the area. The result showed that the utilization of public and semi-public spaces in this area depended on the locations, environments, activities and times. They can be categorized by type of space / accessibility / floor level and enclosure. The diversity of these spatial properties had effected to the pattern of space using. According to the field observation, the pedestrian movement rate, the pedestrian movement trace and pedestrian activity pattern will present the lively district and allow the area to develop for the commercial activities that attracts people into the area. From the analytical results, the spatial characteristics can be categorized and proposed be the utilization of public and semi-public space in this area. The guidelines are suggested in a form of design plans for the case study in Asoke-Nana district area. At the end, the studies suggested the implementation guidelines including the necessary recommendations in relation to the issues and established spatial development guidelines to apply in other similar cases. 2013-12-06T07:08:38Z 2013-12-06T07:08:38Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36925 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
พื้นที่สาธารณะ -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) การใช้ที่ดิน -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) Public spaces -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) Land use -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) |
spellingShingle |
พื้นที่สาธารณะ -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) การใช้ที่ดิน -- ไทย -- อโศก-นานา (กรุงเทพฯ) Public spaces -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) Land use -- Thailand -- Asoke-Nana (Bangkok) สกาวเนตร สะใบ แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
description |
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
นพนันท์ ตาปนานนท์ |
author_facet |
นพนันท์ ตาปนานนท์ สกาวเนตร สะใบ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สกาวเนตร สะใบ |
author_sort |
สกาวเนตร สะใบ |
title |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
title_short |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
title_full |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
title_fullStr |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
title_full_unstemmed |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
title_sort |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36925 |
_version_ |
1681409531268038656 |