ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อัจจิมา จันท์แสนโรจน์
Other Authors: ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36926
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.766
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.36926
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic Recombinant FSH
Follicle-stimulating hormone
Estrus
Cats -- Artificial insemination
รีคอมบิแนนต์เอฟเอสเอช
ฟอลลิเคิลสติมูเลติงฮอร์โมน
การเป็นสัด
แมว -- การผสมเทียม
spellingShingle Recombinant FSH
Follicle-stimulating hormone
Estrus
Cats -- Artificial insemination
รีคอมบิแนนต์เอฟเอสเอช
ฟอลลิเคิลสติมูเลติงฮอร์โมน
การเป็นสัด
แมว -- การผสมเทียม
อัจจิมา จันท์แสนโรจน์
ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์
author_facet ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์
อัจจิมา จันท์แสนโรจน์
format Theses and Dissertations
author อัจจิมา จันท์แสนโรจน์
author_sort อัจจิมา จันท์แสนโรจน์
title ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
title_short ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
title_full ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
title_fullStr ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
title_full_unstemmed ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
title_sort ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36926
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.766
_version_ 1724629987954262016
spelling th-cuir.369262019-09-25T03:56:23Z ประสิทธิภาพของฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอร์โมน ชนิดรีคอมบิแนนต์ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด การตอบสนองของรังไข่และการตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ในแมวบ้าน The Efficacy of recombinant follicle stimulating hormone on oestrus induction, ovarian response and pregnancy after intratubal insemination in domestic cats อัจจิมา จันท์แสนโรจน์ ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์ เกวลี ฉัตรดรงค์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ Recombinant FSH Follicle-stimulating hormone Estrus Cats -- Artificial insemination รีคอมบิแนนต์เอฟเอสเอช ฟอลลิเคิลสติมูเลติงฮอร์โมน การเป็นสัด แมว -- การผสมเทียม วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 การทดลองที่ 1 ของการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขนาดการใช้ rhFSH ที่เหมาะสมต่อการเหนี่ยวนำการเป็นสัด และความสามารถในการเจริญไปถึงระยะพร้อมปฏิสนธิของโอโอไซต์ (COCs) ภายหลังได้รับฮอร์โมน rhFSH แมวบ้านจำนวน 24 ตัว นำมาใช้ในการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบขนาดการใช้ของ rhFSH ในการเหนี่ยวนำการเป็นสัด (กลุ่มควบคุม, 5 ไอยู, 10 ไอยู และ 25 ไอยูต่อตัว) โดยการฉีด rhFSH เข้ากล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน ในวันที่ 4 ทำหมันแมวเพื่อทำการเก็บโอโอไซต์ COCs ที่ได้มาจะถูกเลี้ยงในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 38 องศาเซลเซียส และความชื้น 5% เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วจึงประเมินโอโอไซต์ที่เจริญถึงระยะพร้อมปฏิสนธิ (metaphase II) โดยย้อมสี Hoechst33342 ผลการศึกษาคือ แมวที่ได้รับ rhFSH 5 ไอยู ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมและเซลล์เยื่อบุช่องคลอด ในขณะที่แมวที่ได้รับ 10 ไอยูหรือ 25 ไอยู แสดงอาการเป็นสัด 67% ทั้งสองกลุ่มและเซลล์เยื่อบุช่องคลอดเปลี่ยนแปลง 50% และ 67% ตามลำดับ หลังจากได้รับฮอร์โมน จำนวน COCs ที่ได้จากแมวที่ได้รับฮอร์โมน 10 ไอยู และ 25 ไอยู มากกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับฮอร์โมน 5 ไอยู (31%, 40%, 54% และ 61% ตามลำดับ) (P < 0.05) โดยอัตราการเจริญถึงระยะพร้อมปฏิสนธิมีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม (กลุ่มควบคุม 25%, กลุ่ม 5 ไอยู 43%, กลุ่ม 10 ไอยู 42% และกลุ่ม 25 ไอยู 54%) จากการศึกษานี้ฮอร์โมน rhFSH ขนาด 10 ไอยู คือขนาดที่เหมาะสมในการเหนี่ยวนำการเป็นสัดและเหนี่ยวนำการตกไข่ด้วยฮอร์โมน hCG การทดลองที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการผสมติดภายหลังการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ทั้งสองข้าง ด้วยน้ำเชื้อแช่แข็งในแมวที่เหนี่ยวนำการเป็นสัดด้วย rhFSH แมวจำนวน 9 ตัว ได้รับฮอร์โมน rhFSH ขนาด 10 ไอยู วันละสองครั้ง จนกระทั่งแสดงอาการเป็นสัดและเซลล์เยื่อบุช่องคลอดมีการเปลี่ยนแปลง (วันที่ 1 ของการเป็นสัด) ในวันที่ 4 ของการเป็นสัดเหนี่ยวนำการตกไข่ด้วย hCG 150 ไอยู 24 ชั่วโมงภายหลังฉีด hCG ทำการผสมเทียมโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง (อสุจิ 5×106 ตัวมีอัตราการเคลื่อนที่ของตัวอสุจิภายหลังการละลายน้ำเชื้อไม่ต่ำกว่า 50%) ทำการผสมเทียมผ่านทางท่อนำไข่ทั้งสองข้างผ่านทางสายยางให้อาหารโดยสอดเข้าไปใน ampulla โดยผ่าน fimbria เข้าไปประมาณ 2 ซม. หลังจากผสมเทียม20 วัน ทำอัลตราซาวน์เพื่อยืนยันการตั้งท้อง ได้อัตราการตั้งท้องเป็น 20% (1 ใน 5 ตัว) โดยลูกคลอดสมบูรณ์ 2 ตัว The objectives of this study were (i) to evaluate optimal dosage of rhFSH on oestrous induction and maturation ability of cumulus oocyte complexes (COCs) in domestic cats (Study I) and (ii) to investigate the fertility rate after bilateral intratubal artificial insemination with frozen semen of queens induced into oestrus with rhFSH (Study II). Domestic cats (n = 24) were used to compare various dosages of rhFSH (control, 5, 10 or 25 IU per cat) on oestrous induction. Intramuscular injection of rhFSH was performed every 12 hours for 3 consecutive days. Ovaries were surgically removed on the fourth day and oocytes were retrieved. COCs were cultured for 24 hours. Metaphase II stage of the oocytes were evaluated by Hoechst33342 staining. All cats receiving 5 IU rhFSH did not show any changes in their oestrous behaviour or vaginal cytology. However, cats receiving 10 IU or 25 IU rhFSH showed oestrus behaviour (66.7% in both groups) and oestrus vaginal cytology (50% and 67% respectively) post-treatment. The number of recovered COCs in the 10 IU and 25 IU groups was higher than those in the control and 5 IU groups (31%, 40%, 54% and 61% respectively) (P < 0.05). The in vitro maturation rate of COCs differed among treatments (control = 25%, 5 IU = 43%, 10 IU = 42% and 25 IU = 54%). Based on these findings, 10 IU was selected as an optimal dosage for oestrous induction in domestic cats. In Study II, 9 female cats were received administration of 10 IU rhFSH twice daily until the queens presented signs of oestrus and vaginal exfoliative cytology showed a typical oestrus smear (Day 1 of oestrus). On day 4 of oestrus, ovulation induction was performed using 150 IU hCG IM. Twenty four hours after hCG injection, all queens were inseminated via bilateral intratubal artificial insemination with frozen-thaw semen (5×106 spermatozoa, at least 60% post-thaw motility). Pregnancy diagnosis was done ultrasonographically 20 days after insemination. Pregnancy rate was 20% (1/5). 2013-12-06T07:16:54Z 2013-12-06T07:16:54Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36926 10.14457/CU.the.2011.766 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.766 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย