ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์
Other Authors: สุเทพ กลชาญวิทย์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37511
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.37511
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรต -- การใช้รักษา
ไนตริกออกไซด์ -- การใช้รักษา
หลอดอาหาร -- โรค -- การรักษา
Isosorbide dinitrate -- Therapeutic use
Nitric oxide -- Therapeutic use
Esophagus -- Diseases -- Treatment
spellingShingle ไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรต -- การใช้รักษา
ไนตริกออกไซด์ -- การใช้รักษา
หลอดอาหาร -- โรค -- การรักษา
Isosorbide dinitrate -- Therapeutic use
Nitric oxide -- Therapeutic use
Esophagus -- Diseases -- Treatment
ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์
ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 สุเทพ กลชาญวิทย์
author_facet สุเทพ กลชาญวิทย์
ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์
format Theses and Dissertations
author ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์
author_sort ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์
title ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
title_short ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
title_full ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
title_fullStr ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
title_full_unstemmed ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
title_sort ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37511
_version_ 1681413349477187584
spelling th-cuir.375112013-12-12T04:26:08Z ผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ต่อการบีบตัวของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง Effect of isosorbide dinitrate spray on esophageal peristalsis in patients with distal esophageal spasm ณัฐพร นรเศรษฐวณิชย์ สุเทพ กลชาญวิทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรต -- การใช้รักษา ไนตริกออกไซด์ -- การใช้รักษา หลอดอาหาร -- โรค -- การรักษา Isosorbide dinitrate -- Therapeutic use Nitric oxide -- Therapeutic use Esophagus -- Diseases -- Treatment วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 ที่มา: ไนตริกออกไซด์มีส่วนช่วยให้หลอดอาหารมีการบีบตัวแบบเพอริสทัลซิสในคนปกติ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตซึ่งเป็นไนตริกออกไซด์ donor ต่อการกลับมาบีบตัวแบบเพอริสทัลซิสของหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็งที่มีอาการ วิธีการวิจัย: ผู้ป่วย 10 ราย เข้ารับการตรวจด้วยเครื่องตรวจการเคลื่อนไหวของหลอดอาหารชนิดความละเอียดสูง 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 48 ชั่วโมง ในการศึกษาชนิด crossover randomized controlled trial (assessor blind) โดยในการตรวจ 2 ครั้งผู้ป่วยจะได้รับยาต่างชนิดกันในแต่ละครั้งจากการสุ่ม คือ ไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตสเปรย์ (1.25 มิลลิกรัม/กด) และน้ำเกลือสเปรย์ ซึ่งการตรวจแต่ละครั้งจะให้ผู้ป่วยกลืนน้ำครั้งละ1 คำ 12 ครั้งก่อนพ่นยา, 12 ครั้งหลังพ่นยาครั้งที่ 1 และ12 ครั้งหลังพ่นยาครั้งที่ 2 ผลการศึกษา: ความชุกการบีบตัวของหลอดอาหารชนิดเพอริสทัลซิสไม่ต่างกันระหว่างกลุ่มที่ได้ รับไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตและกลุ่มที่ได้รับน้ำเกลือ ทั้งก่อนพ่นยาและหลังพ่นยาครั้งที่ 2 (p>0.05) แต่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังพ่นยาไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตครั้งที่ 1 (65% vs. 50%, p =0.045)เมื่อเทียบกับน้ำเกลือ ค่าเฉลี่ย DCI ของหลอดอาหารส่วนปลายลดลงหลังพ่นยาไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตครั้งที่ 1 (1421±839 vs. 2363±1581 mmHg s⁻¹cm⁻¹, p =0.050) และลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังพ่นยาครั้งที่ 2 เมื่อเทียบกับน้ำเกลือ (1399±739 vs. 2409±1289 mmHg s⁻¹cm⁻¹, p =0.006) ค่า residual upper esophageal sphincter (UES) relaxation pressureเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังพ่นยาไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตครั้งที่ 1 (0.5±3.7 vs. -4.0±6.2 mmHg, p =0.026) และครั้งที่ 2 (1.2±4.5 vs. -3.9±6.5 mmHg, p =0.027)เมื่อเทียบกับน้ำเกลือ แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ย UES resting pressure, 4-second IRP และ PFV ระหว่าง 2กลุ่ม ทั้งก่อนพ่นยา หลังพ่นยาครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 สรุป: สัดส่วนการบีบตัวของหลอดอาหารชนิดเพอริสทัลซิสในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็งเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาหลังจากใส่สายวัดการตรวจ ไอโซซอร์ไบด์ไดไนเตรตช่วยให้หลอดอาหารมีการบีบตัวแบบเพอริสทัลซิสได้เร็วกว่าน้ำเกลือ ลด DCI หรือแรงบีบตัวของหลอดอาหารและเพิ่มค่า residual UES relaxation pressure การศึกษานี้สนับสนุนถึงบทบาทของระบบประสาทส่วนกลาง การปรับ ตัวของหลอดอาหารต่อสิ่งกระตุ้นเฉพาะที่ และผลของไนตริกออกไซด์จากภายนอกต่อการทำให้ หลอดอาหารกลับมามีบีบตัวแบบเพอริสทัลซิสที่ปกติในผู้ป่วยโรคหลอดอาหารส่วนปลายหดเกร็ง Background: Nitric oxide (NO) has been showed to modulate esophageal peristalsis contractions in healthy humans. Objective: To study if isosorbide dinitrate (ISDN) which is exogenous NO donor can restore esophageal peristalsis contractions in symptomatic patients with distal esophageal spasm. Methods: Ten patients were randomized to undergo high resolution manometry (HRM) with ISDN spray (1.25 mg/puff) or normal saline (NSS) spray, in 2 times at least 48 hours apart, in crossover randomized controlled trial (assessor blind). For each HRM study, esophageal contractions in response to 12 wet swallows were studied at baseline, after the first 1-puff and the second 1-puff of test agents. Results: Prevalence of esophageal peristalsis contractions was similar at baseline (p>0.05) and increased by ISDN significantly only after the first dose (65% vs. 50%, p =0.045) but not the second dose compared to NSS (p >0.05). ISDN decreased DCI after the first dose (1421±839 vs. 2363±1581 mmHg s⁻¹cm⁻¹, p =0.050) and significantly decreased after the second dose (1399±739 vs. 2409±1289 mmHg s⁻¹cm⁻¹, p =0.006) compared to NSS. ISDN significantly increased residual UES relaxation pressure after the first dose (0.5±3.7 vs. -4.0±6.2 mmHg, p =0.026) and the second dose (1.2±4.5 vs.-3.9±6.5 mmHg, p =0.027) compared to NSS. However, there was no significant difference of PFV, 4-second IRP and UES resting pressure comparing between ISDN and NSS at baseline, after the first dose and the second dose of the test agents (p >0.05). Conclusion: In patients with distal esophageal spasm, proportion of esophageal peristalsis contraction was increased overtime after HRM catheter insertion. ISDN significantly improved peristalsis contractions earlier than NSS, decreased DCI or force of contractions, and increased residual UES relaxation pressure. This study suggests the role of central nervous system or esophageal adaptation to local stimulus and exogenous NO on the restoration of esophageal peristalsis contractions. 2013-12-12T04:26:08Z 2013-12-12T04:26:08Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37511 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย