การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศิรกุล กาญจนปฐมพร
Other Authors: ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37628
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1178
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.37628
record_format dspace
spelling th-cuir.376282019-10-04T06:16:52Z การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน Utilization of boron oxide for production of neutron shielding material ศิรกุล กาญจนปฐมพร ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วัสดุกำบังรังสี นิวตรอน สารประกอบโบรอน ยาง การถ่ายภาพด้วยนิวตรอน Shielding (Radiation) Neutrons Boron compounds Rubber Neutron radiography วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 ทดลองหาปริมาณที่เหมาะสมของโบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน โดยการนำโบรอนออกไซด์ 1, 3 และ 5 phr โดยน้ำหนักของน้ำยางผสมระหว่างน้ำยางพาราธรรมชาติและน้ำยางสไตรีนบิวทาไดอีน ในอัตราส่วน 90:10, 80:20, 70:30, 60:40 และ 50:50 ร่วมกับสารเสริมแรงคือ ผงเขม่าดำ (N330) 0.5 และ 1 phr โดยน้ำหนักของน้ำยางผสม ขึ้นรูปเป็นชิ้นงานสี่เหลี่ยมขนาด 15 x 15 x 0.2ซม. นำไปวัดการลดทอนรังสีนิวตรอนจากต้นกำเนิดอเมอริเซียม 241/เบริลเลียม ที่บรรจุในโพลีเอทีลีนทรงกระบอกด้วยหัววัดรังสีนิวตรอนชนิด ⁶Li Glass scintillator จากผลการวิจัยพบว่า ชิ้นงานที่มีความสามารถในการลดทอนรังสีนิวตรอนมากที่สุดคือ ชิ้นงานที่มีส่วนผสมของน้ำยางพาราธรรมชาติและน้ำยางสไตรีนบิวทาไดอีนในอัตราส่วน 70:30 ผสมกับโบรอนออกไซด์ 3 phr และผงเขม่าดำ 0.5 phr โดยความหนาที่เหมาะสมในการกำบังรังสีนิวตรอนคือ 1.2 เซนติเมตร เกิดจากการเรียงซ้อนชิ้นงานจำนวน 6 ชิ้น สามารถลดทอนรังสีนิวตรอนจากต้นกำเนิดได้ 81% มีค่า HVL เท่ากับ 0.6 ซม. และมีค่าภาคตัดขวางมหภาคเท่ากับ 1.394 ซม.⁻¹ To determine the most suitable concentration of boron oxide for production of neutron shielding material. 1, 3 and 5 phr of boron oxide were mixed with natural rubber-styrene butadiene rubber blends of the following ratios: 90:10, 80:20, 70:30, 60:40 and 50:50. 0.5 and 1 phr of carbon black (N330) as a strengthening additive was also added. Rectangular specimens were fabricated with dimensions of 15 x 15 cm. with 0.2 cm. thickness. Neutron attenuation efficiency was measured using ⁶Li glass scintillation neutron detector with Am-241/Be neutron source contained in polyethylene cylinder. Results revealed that the specimen exhibiting the highest neutron shielding capability composed of rubber blend with 70:30 ratio loaded with 3 phr of boron oxide and 0.5 phr of carbon black. The most suitable thickness for neutron shielding was 1.2 cm., obtained from stacking 6 pieces of the shielding material together. Neutron radiation can be attenuated by 81% from its origins. The HVL of the shielding material was found to be 0.6 cm. and the macroscopic cross-section was evaluated to be 1.394 cm⁻¹ . 2014-01-01T15:13:46Z 2014-01-01T15:13:46Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37628 10.14457/CU.the.2012.1178 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1178 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic วัสดุกำบังรังสี
นิวตรอน
สารประกอบโบรอน
ยาง
การถ่ายภาพด้วยนิวตรอน
Shielding (Radiation)
Neutrons
Boron compounds
Rubber
Neutron radiography
spellingShingle วัสดุกำบังรังสี
นิวตรอน
สารประกอบโบรอน
ยาง
การถ่ายภาพด้วยนิวตรอน
Shielding (Radiation)
Neutrons
Boron compounds
Rubber
Neutron radiography
ศิรกุล กาญจนปฐมพร
การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง
author_facet ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง
ศิรกุล กาญจนปฐมพร
format Theses and Dissertations
author ศิรกุล กาญจนปฐมพร
author_sort ศิรกุล กาญจนปฐมพร
title การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
title_short การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
title_full การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
title_fullStr การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
title_full_unstemmed การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
title_sort การใช้โบรอนออกไซด์เพื่อผลิตเป็นวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37628
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1178
_version_ 1724629991487963136