การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปิติกานต์ วงศ์พานิช
Other Authors: กิตตินันท์ โกมลภิส
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38309
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.38309
record_format dspace
spelling th-cuir.383092014-01-13T14:26:31Z การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์ Development of enrofloxacin test kit using enzyme-linked immunosorbent assay technique ปิติกานต์ วงศ์พานิช กิตตินันท์ โกมลภิส ธนาภัทร ปาลกะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ ปฏิชีวนะทางสัตวแพทยศาสตร์ อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ เอนโรฟลอกซาซิน Antibiotics in veterinary medicine Food adulteration and inspection Enrofloxacin วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 เอนโรฟลอกซาซินเป็นสารปฏิชีวนะในกลุ่มฟลูออโรควิโนโลนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยวิธีทางเคมี นิยมนำมาใช้ในการควบคุม และรักษาโรคที่เกิดจากแบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบในการทำปศุสัตว์ ทำให้เกิดการตกค้างในผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้บริโภค และสามารถเข้าสู่ห่วงโซ่อาหาร ก่อให้เกิดการกระตุ้นการกลายพันธุ์ และการดื้อยาของแบคทีเรีย จึงจำเป็นต้องมีการตรวจหาเอนโรฟลอกซาซินที่ตกค้าง ในงานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาชุดตรวจสอบเอนโรฟลอกซาซินต้นแบบด้วยเทคนิค Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) จากการเตรียมชุดตรวจสอบทั้งหมด 4 แบบ พบว่าชุดตรวจสอบแบบ Direct competitive ELISA (Ag captured) เป็นชุดตรวจสอบ ที่มีความเหมาะสมที่สุดในการนำมาเตรียมเป็นชุดตรวจสอบต้นแบบ โดยความเข้มข้นของสารต่ำสุด ที่สามารถตรวจวัดได้ (limit of detection, LOD) เท่ากับ 0.5 ppbโดยสามารถตรวจสารได้ในช่วง 0.5-25 ppb ชุดตรวจสอบต้นแบบที่ได้มีความจำเพาะสูง โดยทำปฏิกิริยาข้ามกับสารปฏิชีวนะอื่นๆทั้งในและนอกกลุ่มฟลูออโรควิโนโลนน้อยกว่า 0.01% เมื่อนำชุดตรวจสอบต้นแบบไปทดสอบกับตัวอย่างต่างๆ คือ เนื้อไก่ น้ำนมโค และปัสสาวะโค พบว่า %recovery ที่ได้อยู่ในช่วง 82-111%, 80-125% และ 80-124% ตามลำดับ และจากการตรวจวัดปริมาณสารเปรียบเทียบโดยการใช้ชุดตรวจสอบ ELISA ต้นแบบที่พัฒนาขึ้นเอง ชุดตรวจสอบ ELISA ที่มีจำหน่าย (บริษัท EURO-DIAGNOSTICA) และ HPLC พบว่าให้ผลใกล้เคียงกัน นอกจากนี้จากการทดสอบการแปรปรวนของการวัดของชุดตรวจสอบต้นแบบทั้งแบบ intra-variation และ inter-variation assay พบว่ามีค่าอยู่ในช่วง 2.9-7.4% และ 2.7-15.7% ตามลำดับ แสดงว่าชุดตรวจสอบต้นแบบที่ได้สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์หา เอนโรฟลอกซาซินที่ตกค้างได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูง Enrofloxacin is a chemically synthetic antibiotic in fluoroquinolone group. It has been widely used in animal husbandry to control and treat diseases caused by both Gram positive and Gram negative bacteria. This practice might lead to drug residue in animal products, thus directly affecting the consumers. The residue can also enter the food chain, leading mutation and drug resistance in bacteria. Therefore, determination of enrofloxacin residue is essential. In this research, enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) test kits were developed. Among the four types of ELISA kit tested, direct competitive ELISA (Ag captured) was the most suitable type for test kit prototype preparation with the limit of detection (LOD) of 0.5 ppb and the detectable range of 0.5-25 ppb. The prototype test kit was highly specific to enrofloxacin. The %cross-reactivity with other antibiotics and fluoroquinlones were less than 0.01%. The developed test kit was tested on different samples including chicken muscle, cow milk and cow urine. It revealed the %recovery of 82-111%, 80-125% and 80-124%, respectively. Furthermore, comparative quantification of enrofloxacin using the developed ELISA test kit, the commercially available test kit (EURO-DIAGNOSTICA) and HPLC showed that all methods gave comparable results. In addition, the intra-assay and inter-assay variations of the developed test kit were also investigated and found to be 2.9-7.4% and 2.7-15.7%, respectively. These indicated that the developed prototype test kit in this study can be used to accurately and efficiently determine the enrofloxacin residue. 2014-01-13T14:26:31Z 2014-01-13T14:26:31Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38309 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ปฏิชีวนะทางสัตวแพทยศาสตร์
อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ
เอนโรฟลอกซาซิน
Antibiotics in veterinary medicine
Food adulteration and inspection
Enrofloxacin
spellingShingle ปฏิชีวนะทางสัตวแพทยศาสตร์
อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ
เอนโรฟลอกซาซิน
Antibiotics in veterinary medicine
Food adulteration and inspection
Enrofloxacin
ปิติกานต์ วงศ์พานิช
การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 กิตตินันท์ โกมลภิส
author_facet กิตตินันท์ โกมลภิส
ปิติกานต์ วงศ์พานิช
format Theses and Dissertations
author ปิติกานต์ วงศ์พานิช
author_sort ปิติกานต์ วงศ์พานิช
title การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
title_short การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
title_full การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
title_fullStr การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
title_full_unstemmed การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
title_sort การพัฒนาชุดตรวจสอบสารเอนโรฟลอกซาซินโดยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38309
_version_ 1681412832233521152