องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554

วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ
Other Authors: บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38338
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.216
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.38338
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic พยาบาล
สมรรถภาพในการทำงาน
สมรรถนะ
Nurses
Performance
spellingShingle พยาบาล
สมรรถภาพในการทำงาน
สมรรถนะ
Nurses
Performance
ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ
องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร
author_facet บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร
ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ
format Theses and Dissertations
author ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ
author_sort ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ
title องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
title_short องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
title_full องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
title_fullStr องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
title_full_unstemmed องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
title_sort องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38338
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.216
_version_ 1724629992613085184
spelling th-cuir.383382021-11-08T07:55:18Z องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 Components of nursing directors’ competency, government hospital during 2007-2011 AD ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาล สมรรถภาพในการทำงาน สมรรถนะ Nurses Performance วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 ขั้นที่ 1 รวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 17 ท่าน โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) จำนวน 2 รอบคัดเลือกแบบเจาะจงและแบบบอกต่อ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสมรรถนะที่จำเป็นของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา ได้องค์ประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล 8 องค์ประกอบ รอบที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราประมาณค่า 5 ระดับ จากระดับ 5 หมายถึง มีความสำคัญมากที่สุด ถึงระดับ 1 หมายถึง มีความสำคัญน้อยที่สุด นำข้อมูลที่ได้จากรอบที่ 2 มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์ คัดเลือกสมรรถนะข้อที่มีค่ามัธยฐานที่ ≥ 3.5 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ < 1.50 มาสร้างเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล ขั้นที่ 2 สกัดตัวประกอบสมรรถนะของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ขนาดตัวอย่าง 400 คน วิเคราะห์ตัวประกอบด้วยวิธีสกัดตัวประกอบ และหมุนแกนตัวประกอบแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ โดยพิจารณาตัวประกอบตามเกณฑ์ที่ว่า 1) องค์ประกอบนั้นต้องมีค่าไอเกนมากกว่า 1.0 และ2) พิจารณาค่าน้ำหนักตัวแปรที่มีค่าตั้งแต่ .40 ขึ้นไปผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ องค์ประกอบสมรรถนะหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 ประกอบด้วย 11 องค์ประกอบ บรรยายด้วย 94 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 63.12 ดังนี้ 1) สมรรถนะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 16 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 10.52 2) สมรรถนะด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลง มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 12 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 7.89 3) สมรรถนะด้านการจัดการงบประมาณ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 10 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 7.02 4) สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 11 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.95 5) สมรรถนะด้านการสร้างความไว้วางใจ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 9 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.29 6) สมรรถนะด้านการบริหารคุณภาพการพยาบาล มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 9 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 5.38 7) สมรรถนะด้านการบริหารเชิงธุรกิจ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 7 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.94 8) สมรรถนะด้านความฉลาดทางอารมณ์ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 6 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.27 9) สมรรถนะด้านการสร้างแรงบันดาลใจ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 6 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.01 10) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการ มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 5 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.95 11) สมรรถนะด้านกลยุทธ์ทางการตลาด มีตัวแปรที่บรรยายองค์ประกอบจำนวน 3 ตัวแปร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.90 The purpose of this research was to explore the nursing directors’ competency in government hospital. Two phase for data collection were employed. Phase I, it was conducted a study related to nursing directors’ competency, government hospital during 2007-2011. A Delphi technique was utilized to collect a consensus from 17 experts in two rounds. A combination of purposive and network/snowball sampling was used to recruit the sample. The first round questionnaire asked 17 experts to determine the necessary to nursing directors’ competency, government hospital during 2007-2011. The data from the first round were analyzed by using content analysis. 8 themes were identified. The second round questionnaire was posted to the same 17 experts asking them to rate each item competency on a five-point rating scale, ranging from 5 “Very high Importance” to 1 “Very low Importance”. The data from second round were calculated using median and interquartile range. Indicators were selected based on median ≥ 3.5, interquartile ≤ 1.50. Phase II, to explore the nursing directors’ competency in government hospital. The sample consisted of 400 nursing directors’ government hospital. Factor analysis, principal component analysis and varimax orthogonal rotation was used to explore underlying factor structure, Items were selected based on the following criteria. a) factor with an eigen value > 1.0 b) item-factor loading ≥ at least .40 Research findings were as follow: Exploratory factor analysis yielded 11 factors, were described by 94 items that accounted for 63.12 percent of total variance. The factors named were: 1) Strategy management described by 16 items, accounted for 10.52 percent of total variance. 2) Change management described by 12 items, accounted for 7.89 percent of total variance. 3) Budgeting management described by 10 items, accounted for 7.02 percent of total variance. 4) Information technology described by 11 items, accounted for 6.95 percent of total variance. 5) Building trust described by 9 items, accounted for 6.29 percent of total variance. 6) Quality management described by 9 items, accounted for 5.38 percent of total variance. 7) Business management described by 7 items, accounted for 4.94 percent of total variance. 8) Emotional quotient described by 6 items, accounted for 4.27 percent of total variance. 9) Inspirational motivation described by 6 items, accounted for 4.01 percent of total variance. 10) Administration described by 5 items, accounted for 4.01 percent of total variance. 11) Marketing strategy described by 3 items, accounted for 2.90 percent of total variance. 2014-01-19T02:46:29Z 2014-01-19T02:46:29Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38338 10.14457/CU.the.2007.216 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.216 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย