การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่

วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กฤติยา เอี่ยมสุทธา
Other Authors: สรชัย พิศาลบุตร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38557
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.38557
record_format dspace
spelling th-cuir.385572020-01-07T03:45:51Z การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่ A comparison on the crop survey designs in Chiangmai province กฤติยา เอี่ยมสุทธา สรชัย พิศาลบุตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 จุดมุ่งหมายของการศึกษานี้ เพื่อหาแผนแบบที่เหมาะสมในการสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่ ในการศึกษานี้จะทำการเปรียบเทียบระหว่างแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นพวกขั้นตอนเดียว ซึ่งใช้ในการสำรวจของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเดิม และแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นพวกแบบสองขั้นตอน ซึ่งเป็นแผนแบบที่ผู้วิจัยคาดว่า จะเป็นแผนแบบที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ โดยพิจารณาภายใต้เงื่อนไขคือ แผนแบบดังกล่าวมีจำนวนหมู่บ้านตัวอย่างที่ใช้ในการสำรวจเท่ากัน และค่าความคลาดเคลื่อนที่ได้จากแผนแบบใหม่ไม่สูงกว่าค่าความคลาดเคลื่อนที่ใช้ในการสำรวจของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเดิม จากการเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันของการเลือกตัวอย่างทั้ง 2 แผนแบบภายใต้เงื่อนไขข้างต้นพบว่า แผนแบบที่เหมาะสมที่สุดคือแผนแบบการสุ่มแบบแบ่งเป็นพวกแบบสองขั้นตอนเมื่อใช้จำนวนครัวเรือนเกษตรกรตัวอย่างร้อยละ 37 The objective of this study is to find the optimum design for crop survey in Chiangmai. In this study, we compare Stratified One-Stage Sampling, which is using in the Office of Agricultural Economics with Stratified Two-Stage Sampling, which the researcher expect to be the best design in this study. By considering under the following conditions the number of villages used for both designs and the error of the estimates for the propose design is not higher than the error of the estimate using in the present time. By comparing the coefficient of variation of the two designs under the condition mentioned before, the optimum design for crop survey was Stratified two-stage Sampling with sample of 37% of total farm household. 2014-02-17T02:30:42Z 2014-02-17T02:30:42Z 2539 Thesis 9746362208 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38557 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
author2 สรชัย พิศาลบุตร
author_facet สรชัย พิศาลบุตร
กฤติยา เอี่ยมสุทธา
format Theses and Dissertations
author กฤติยา เอี่ยมสุทธา
spellingShingle กฤติยา เอี่ยมสุทธา
การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
author_sort กฤติยา เอี่ยมสุทธา
title การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
title_short การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
title_full การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
title_fullStr การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
title_sort การเปรียบเทียบแผนแบบสำรวจผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38557
_version_ 1724630229725478912