อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2007
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3856 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.3856 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.38562007-12-25T10:08:02Z อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร Scenarios of home schooling in Bangkok Metropolis นิลวรรณ แซ่จิว, 2517- สุวิมล ว่องวาณิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว วิจัยอนาคต วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 ศึกษาอนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัว คาดการณ์ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น จากการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในแต่ละอนาคตภาพ และเพื่อกศึกษาความคิดเห็นของบุคคลทั่วไปในกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อการศึกษาโดยครอบครัว โดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะสำรวจ ศึกษาความคิดเห็นของบุคคลทั่วไปในแต่ละกลุ่มอาชีพ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นจากจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 450 คน ระยะอนาคตภาพ สร้างอนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานครอีก 10 ปีข้างหน้า โดยการใช้เทคนิควิธีอนาคนภาพแบบนิรนัย (Deductive approach) ซึ่งใช้กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน และระยะตรวจสอบอนาคตภาพ ตรวจสอบอนาคตโดยผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาจำนวน 7 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ของคะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาโดยครอบครัวตามกลุ่มอาชีพ และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าไคสแควร์ ส่วนข้อมูลจากระยะอนาคตภาพและระยะตรวจสอบ ใช้การวิเคาะห์เนื้อหาและสถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยสรุปได้ว่า บุคคลที่มีอาชีพในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านวิชาชีพวิชาการ เห็นด้วยต่อการจัดการศึกษาโดยครอบครัวมากที่สุด (3.76) รองลงมาได้แก่ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านธุรกิจการค้า (3.66) ในขณะที่กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านกสิกรรมเห็นด้วยน้อยที่สุด (3.37) โดยภาพรวมแล้วประชาชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีกลุ่มอาชีพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษาโดยครอบครัว แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 แต่กลุ่มอาชีพไม่มีความสัมพันธ์ กับความสนใจจัดการศึกษาโดยครอบครัว ผลจากการพัฒนาอนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัว ในกรุงเทพมหานครอีก 10 ปีข้างหน้า ได้ภาพอนาคตทั้งหมด 4 ภาพ โดยภาพอนาคตที่เห็นว่ามีความเป็นไปได้มากที่สุด คือ ภาพอนาคตที่ 2 ที่คาดว่าจำนวนของครอบครัวที่จัดการศึกษาด้วยตนเอง จะมีเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน แต่คงไม่มากนัก โดยส่วนใหญ่จะเป็นครอบครัวที่มีความมุ่งมั่น และมีความพร้อมทางด้านฐานะเศรษฐกิจ สังคม และศึกษาในระดับที่พึ่งพาตนเองได้ ส่วนรูปแบบอาจเป็นได้ทั้งครอบครัวเดี่ยวและกลุ่มครอบครัว ซึ่งผลกระทบที่คาดว่าจะตามมาคือ เอกชนจะเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาโดยครอบครัวมากขึ้น เกิดการรวมกลุ่มของพ่อแม่ที่มีแนวคิดทางการศึกษาคล้ายคลึงกับ แนวคิดของกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองมากขึ้น To study scenarios of home schooling, predict effects of each scenario and survey opinions of people in Bangkok regarding this type of educational management. The research was divided into three stages. The first stage is the opinion survey of 450 people in various occupations. The second stage is the development of the scenarios of home schooling on Bangkok in the next ten year by 10 home schooling-experts using a scenario technique. The final stage is the examination of those scenatios by 7 educational experts. Data were analyzed by desciptive statistics, one-way anova, chi-square, and content analysis. It was found that the group of people in academic professional occupation had the highest agreement with home schooling (3.76), followed by those in business (3.66) and agricultural occupation (3.37), resepctively. The research indicated that there were significant differences in the opinions with regard to home schooling among the group of people with different occupation. However, the relationship between occupation and interest in home schooling was not found. Results yielded 4 scenarios. The second scenario was the most possible to happen. In the next 10 years, there will be the increment in the number of home schooling. The model of home schooling counld be either a singer family or group of families. Consequently, private groups, interested parents, were expected to play an important role. In addition, some schools would be likely to adjust their teaching method in response to parents' needs 2007-08-24T08:59:05Z 2007-08-24T08:59:05Z 2543 Thesis 9741313012 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3856 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1997436 bytes application/pdf application/pdf กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว วิจัยอนาคต |
spellingShingle |
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว วิจัยอนาคต นิลวรรณ แซ่จิว, 2517- อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
สุวิมล ว่องวาณิช |
author_facet |
สุวิมล ว่องวาณิช นิลวรรณ แซ่จิว, 2517- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นิลวรรณ แซ่จิว, 2517- |
author_sort |
นิลวรรณ แซ่จิว, 2517- |
title |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
title_short |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
title_full |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
title_fullStr |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
title_full_unstemmed |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
title_sort |
อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกรุงเทพมหานคร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2007 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3856 |
_version_ |
1681411888050601984 |