การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2007
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3862 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.3862 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หัตถกรรม -- ไทย เครื่องเงิน ประเกือม หลักสูตรท้องถิ่น |
spellingShingle |
หัตถกรรม -- ไทย เครื่องเงิน ประเกือม หลักสูตรท้องถิ่น พันธวิทย์ ยืนยิ่ง, 2511- การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
สำลี ทองธิว |
author_facet |
สำลี ทองธิว พันธวิทย์ ยืนยิ่ง, 2511- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พันธวิทย์ ยืนยิ่ง, 2511- |
author_sort |
พันธวิทย์ ยืนยิ่ง, 2511- |
title |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
title_short |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
title_full |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
title_fullStr |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
title_sort |
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2007 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3862 |
_version_ |
1681409679746400256 |
spelling |
th-cuir.38622007-12-25T04:38:12Z การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร์ A development of a local curriculum on silver handicraft Praguam Ngoen in Ban Sado community for prathom suksa six students in schools under the jurisdiction of the Office of Surin Provincial Primary Education พันธวิทย์ ยืนยิ่ง, 2511- สำลี ทองธิว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ หัตถกรรม -- ไทย เครื่องเงิน ประเกือม หลักสูตรท้องถิ่น วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของชุมชนบ้านสดอ จังหวัดสุรินทร์ โดย 1) พัฒนาเนื้อหาภูมิปัญญาท้องถิ่นจากขั้นตอนการทำงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงิน 2) จัดแนวการเรียนการสอนโดยบูรณาการจากการเรียนรู้ของชุมชน กระบวนการพัฒนาหลักสูตรมีขั้นตอนดังนี้ 1) การศึกษาวิจัยข้อมูลภาคสนามเพื่อศึกษาวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวบ้านและการเข้าไปฝึกทำงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของผู้วิจัยเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างหลักสูตร 2) การสร้างหลักสูตรท้องถิ่นโดยการนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยในขั้นตอนที่ 1 เพิ่มลงในโครงสร้างเนื้อหาหลักสูตรแม่บทพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533) กลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ สาขางานเลือก แขนงงานอาชีพ 3) การนำหลักสูตรไปทดลองใช้ ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตวัฒนธรรมการทำงานอาชีพหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือบเงินของชุมชนบ้านสดอ ซึ่งจะเน้นการทำเม็ดประเกือมเงินรูปทรงกระบอก กระบวนการทำงานอาชีพจะสัมพันธ์กับความเชื่อ ประเพณีพิธีกรรมพื้นบ้าน ซึ่งสืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ได้แก่ พิธียกครูช่างทำเม็ดประเกือมเงิน และพิธีแซน-สนอป ส่วนขั้นตอนการทำเม็ดประเกือมเงินมีด้งนี้ 1) การเตรียมน้ำประสานเม็ดประเกือมเงิน 2) การเตรียมชันผสม 3) การหลอมและรีดเม็ดเงิน 4) การวัดตัดและม้วนแต่เงิน 5) การเชื่อมประสานหลอดเงิน 6) การตีขึ้นรูปทรงเม็ดประเกือมเงินทรงกระบอก 7) การใส่ห่วงลวดเงินแต่งขอบปากเม็ดประเกือมเงิน 8) การเข้าชันเม็ดประเกือมเงิน 9) การแกะลายเม็ดประเกือมเงิน 10) การเจาะรูและขัดขาวเม็ดประเกือมเงิน 11) การย้อมดำเม็ดประเกือมเงิน 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินและวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งนักเรียนทุกคนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนผ่านเกณฑ์การประเมินผลที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์การประเมินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานหัตถกรรมพื้นบ้านการทำเม็ดประเกือมเงินของนักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินผลที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม และค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าเกณฑ์การประเมินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 The objectives of this research are to develop a local curriculum on silver handicraft Praguam Ngoen in Bann Sado community in Surin Province by : 1) To develop the content from local wisdom based on the working process of the Silver handicraft Praguam Ngoen ; 2) To design the instructional process by integrating content and working process according to the actual community learning process. The curriculum development process are as follows : 1) The field study research to collect data on the living and culture of the villagers, and to engage in the silver handicraft making. 2) The development of local curriculum by inserting the data obtained from the first step of research into the curriculum structure of the National Curriculum B.E. 2521, in the Work Oriented Experiences, Occupation Branch 3. 3) The implementation of the local curriculum. Findings : 1. The research study revealed that the way of living, culture and the working process of Praguam Ngoen in the cylinder shape was related to the belief, tradition, and native ceremonial which has been descended from the ancestor as shown in the worshipping cerremony for silver Praguam Ngoen craftsman and Saen-Snop Ceremony. The process for producing the silver Praguam Ngoen are as follows: 1) Preparation of silver Praguam Ngoen soldering flux ; 2) Preparation of mixed resin ; 3) Melting and pressing of silver granule ; 4) Measure, cut and fold of silver sheet; 5) Welding of silver tube; 6) Rising up the Praguam Ngoen into cylinder shape ; 7) Connecting the silver hook, decorating the rim of Praguam Ngoen ; 8) Resin casting of Praguam Ngoen ; 9) Sculpture of Praguam Ngoen ; 10) Making hold and whiting polishing of Praguam Ngoen ; 11) Black dying of Praguam Ngoen. 2. The average learning achievement scores of the Prathom Suksa six students were above the criteria scores stipulated at 60% of the total scores of 100. In addition, subject achievement after studying was higher than the criteria of assessment at the .01 level of significance. 3. The average working behavioral scores derived from the behavioral observation on the Praguam Ngoen working process of the students were above the criteria scores stipulated at 60% of the total scores of 100. In addition, subject achievement after studying was higher than the criteria of assessment at the .01 level of significance 2007-08-27T01:38:51Z 2007-08-27T01:38:51Z 2543 Thesis 9743343776 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3862 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 27241276 bytes application/pdf application/pdf สุรินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |