การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2007
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3882 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.3882 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.38822007-12-20T09:34:13Z การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ Criminal liability and discretion to grant business credit : a case study of credit line for business take-over สมพร แดงดี, 2500- วีระพงษ์ บุญโญภาส จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ สินเชื่อ ธนาคารพาณิชย์ ความรับผิดทางอาญา การรวมกิจการ วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งในทางธุรกิจ แต่การเข้าครอบงำกิจการมีเหตุจูงใจหลายอย่าง สินเชื่อประเภทนี้จึงมีความเสี่ยงสูง นอกจากผู้อนุมัติสินเชื่อจะต้องปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบแบบแผนของสถาบันการเงินหรือธนาคารพาณิชย์นั้นแล้วยังจะต้องประเมินความเสี่ยงจากปัจจัยทุกๆ ด้าน และจะต้องพิจารณาด้วยความระมัดระวังอย่างผู้มีวิชาชีพ (Prudential) ด้วย บ่อยครั้งที่การใช้ดุลยพินิจให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการโดยทุจริต หรือไม่ใช้ความระมัดระวังอย่างผู้มีวิชาชีพ ทำให้เกิดความเสียหายขึ้น มีผลกระทบต่อประชาชนและเศรษฐกิจโดยรวม จึงมีกฎหมายกำหนดความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ซึ่งได้รับมอบหมายให้จัดการทรัพย์สินของผู้อื่นที่กระทำโดยทุจริต แต่การพิสูจน์เจตนาทุจริตนั้นกระทำได้ยาก เพราะผู้อนุมัติสินเชื่อจะกล่าวอ้างได้ว่ากระทำไปในกรอบอำนาจ ไม่เจตนาให้เกิดความเสียหาย การพิจารณาความรับผิดในทางอาญาของผู้ใช้ดุลยพินิจอนุมัตสินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการจึงไม่ควรพิจารณาจากการกระทำโดยเจตนาเพียงอย่างเดียว แต่ควรจะนำหลักความรับผิดโดยประมาทเลินเล่อ และหลักความรับผิดโดยเด็ดขาดของประเทศในระบบ Common Law มาประกอบพิจารณาด้วย Credit line for business takeover is a kind of business credit. However, as takeovers can be motivated by various reasons, this type of credit involves high risks. The person approving such credit is required not only to adhere to the policy and regulations laid down by the relevant financial institution or commercial bank, but also to thoroughly assess all concerned risk factors and to exercise professional prudence when making the decision. Often, the discretion to grant credit line for business takeover is exercised in bad faith or without the required professional prudence, incurring damage and causing adverse effects on the people's interest and the general economy as a whole. Although the law imposes criminal liability on unscrupulous representatives of juristic entities entrusted with the responsibility to manage property of others, to prove such persons' criminal intent is not an easy task because they will always claim that they have acted within the scope of authority and there has been no intention to cause damage. Hence, the determination of criminal liability of a person who approves credit line for business takeovers at his discretion should not be limited to the intent of such person. The legal principle and concept of criminal negligence and strict liability as applied in other countries under the common law system should also be taken into account 2007-08-27T03:20:09Z 2007-08-27T03:20:09Z 2542 Thesis 9743345035 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3882 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13686486 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
สินเชื่อ ธนาคารพาณิชย์ ความรับผิดทางอาญา การรวมกิจการ |
spellingShingle |
สินเชื่อ ธนาคารพาณิชย์ ความรับผิดทางอาญา การรวมกิจการ สมพร แดงดี, 2500- การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
author2 |
วีระพงษ์ บุญโญภาส |
author_facet |
วีระพงษ์ บุญโญภาส สมพร แดงดี, 2500- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สมพร แดงดี, 2500- |
author_sort |
สมพร แดงดี, 2500- |
title |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
title_short |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
title_full |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
title_fullStr |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
title_full_unstemmed |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
title_sort |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2007 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3882 |
_version_ |
1681411578520403968 |