การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39212 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.39212 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.392122014-02-21T04:12:38Z การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ Application of space management for efficient inventory control : case study of a convenience store ทิพย์วาณี ยังชื่นสวัสดิ์ พงศา พรชัยวิเศษกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การควบคุมสินค้าคงคลัง ร้านค้าสะดวกซื้อ พฤติกรรมผู้บริโภค Inventory control Convenience stores Consumer behavior วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ศึกษารูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางสำหรับสินค้าที่วางแสดงหน้าร้านสะดวกซื้อ เพื่อสร้างผลตอบแทนต่อพื้นที่ชั้นวางและลดต้นทุนในการบริหารสินค้าคงคลัง ที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้วิธีการวิจัยทดลองเพิ่มพื้นที่วางแสดงสำหรับสินค้า ที่มีกำไรขั้นต้นต่อพื้นที่และมีอัตราหมุนเวียนสูง ซึ่งสามารถคำนวณออกมาในรูปของกำไรขั้นต้นต่อพื้นที่ ที่ได้จากการลงทุนในสินค้าคงคลัง (Gross Margin Return on Inventory Investment) ใน 2 อันดับแรก เพื่อคำนวณหาค่าความยืดหยุ่นของยอดขายสินค้าต่อชิ้นที่มีต่อพื้นที่ที่เพิ่มขึ้น และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่วางแสดงสินค้ากับยอดขาย กำไรขั้นต้น และเปรียบเทียบผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสินค้าแต่ละชนิดบนชั้นวาง สินค้าที่เลือกมาทดลองทั้งหมดมี 5 หมวดหมู่ด้วยกันคือ 1. สินค้าเพื่อการอุปโภค 2. สินค้าเพื่อการบริโภค 3. สินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว 4. สินค้าประเภทเครื่องดื่มในตู้แช่เย็น และ 5. สินค้าที่วางจำหน่ายบริเวณที่รับชำระเงิน โดยเลือกใช้เวลาสัปดาห์แรกของทุกต้นเดือน เป็นช่วงเก็บผลการทดลองในแต่ละลำดับขั้นของการเพิ่มความกว้างผลิตภัณฑ์ (Face) ให้กับสินค้าเพื่อหลีกเลี่ยงปัจจัยลบด้านงบประมาณใช้จ่ายของผู้บริโภค ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่วางสินค้ามีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับยอดขาย ของสินค้าหน่วยที่ได้รับพื้นที่วางแสดงเพิ่ม ซึ่งความสัมพันธ์นี้เกิดขึ้นในสินค้าทุกประเภทที่ได้ทดลอง แต่อาจจะมีความไวต่อการเพิ่มพื้นที่ที่ไม่เท่ากัน และส่งผลกระทบต่อยอดขายสินค้าทั้งชั้นแตกต่างกันไป ดังนั้นการจัดสรรพื้นที่วางให้กับสินค้า จึงควรมีความเข้าใจถึงลักษณะเฉพาะของสินค้าและส่วนประสมในการวางสินค้าบนชั้น ซึ่งมีลักษณะของการแย่งยอดขายกันเอง และการทดแทนกันได้ของสินค้าบางประเภท เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่บนชั้นวางให้เกิดผลตอบแทนสูงสุด และลดปัญหาสินค้าขาดหรือเกินความต้องการได้ To study the pattern of shelf space allocation for the front-store of a convenience store. To generate the best outcome per 1 unit of display space and reduce cost of inventory management for the utmost efficiency. The first 2 products with the highest gross margin return on investment (GMROI) have been assigned more display space for calculating an elasticity of the sale volume per each increasing face. Then find the relationship between product display spaces, sale volume, and gross margin and compare the effect of each individual product on shelf space. There are 5 product categories studied in this research. The first 2 categories are daily used product and consumer product. The next are snack bar, chilled beverage and product that placed on the counter cashier. To avoid the budget limitation, all information has been gathered on the first week of each month. According to the study, there is a relationship between shelf display space and sale volume in the same direction. But the sensitivity of increasing space for each product is different. For the most efficiency in shelf space allocation and inventory control, retailer must consider product mix and individual characteristics such as substitution and cannibalism for each product in shelf accordingly. 2014-02-21T04:12:38Z 2014-02-21T04:12:38Z 2548 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39212 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การควบคุมสินค้าคงคลัง ร้านค้าสะดวกซื้อ พฤติกรรมผู้บริโภค Inventory control Convenience stores Consumer behavior |
spellingShingle |
การควบคุมสินค้าคงคลัง ร้านค้าสะดวกซื้อ พฤติกรรมผู้บริโภค Inventory control Convenience stores Consumer behavior ทิพย์วาณี ยังชื่นสวัสดิ์ การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
author2 |
พงศา พรชัยวิเศษกุล |
author_facet |
พงศา พรชัยวิเศษกุล ทิพย์วาณี ยังชื่นสวัสดิ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ทิพย์วาณี ยังชื่นสวัสดิ์ |
author_sort |
ทิพย์วาณี ยังชื่นสวัสดิ์ |
title |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
title_short |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
title_full |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
title_fullStr |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
title_sort |
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารพื้นที่ เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการควบคุมสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษาร้านค้าสะดวกซื้อ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39212 |
_version_ |
1681411889274290176 |