การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507-
Other Authors: อัปสรสุดา ศิริพงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3944
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.3944
record_format dspace
spelling th-cuir.39442007-12-25T03:24:42Z การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย The linkage of ENSO and interannual variation of monsoon rainfall at Surat Thani and Ranong provinces in southern coast and Chanthaburi province in easthern coast of Thailand บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507- อัปสรสุดา ศิริพงศ์ อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ เอลนีโญ ลานีญา ฝน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี ฝน -- ไทย -- ระนอง ฝน -- ไทย -- จันทบุรี มรสุม -- ไทย วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์เอ็นโซ (เอลนีโญ และลานินญา) ที่มีต่อฝนมรสุมของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาดังนี้ อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความเร็วลม ทิศทางลม และปริมาณน้ำฝน บริเวณจังหวัดจันทบุรี ระนอง และสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่ปี 1951-1997 ผู้วิจัยคำนวณค่าผิดสภาพจากข้อมูลเฉลี่ยในช่วงปี 1961-1990 นอกจากนี้ยังหาแนวโน้มการวิเคราะห์อนุกรมเวลา จากผลการศึกษาพบว่าตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาที่มีความสัมพันธ์น้อยกับปรากฏการณ์เอ็นโซคือ ความกดอากาศ อุณหภูมิ ปริมาณฝนและทิศทางลมตามลำดับ เพราะว่าในปีเอลนีโญหรือลานินญานั้นวิเคราะห์แล้วไม่ได้เกิดทั้งปี จากการวิเคราะห์ค่าผิดสภาพราย 3 เดือน และยังพบว่าในฤดูฝนทางภาคตะวันออกจะมีปริมาณฝน 75.8% ของทั้งปีและทางภาคใต้จะมีปริมาณฝน 54.4% ของทั้งปี (และตกในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 32.8% ของทั้งปี) จากค่าผิดสภาพในปีเอลนีโญ ฝนน้อย 52.5% และฝนมาก 47.5%ของปีเอลนีโญและในปีลานินญา ฝนมาก 64% และฝนน้อย 36% ของปีลานินญา ดรรชนีมรสุมที่น้อย (ค่าผิดสภาพติดลบมาก) จะพบในปีเอลนีโญที่รุนแรง (ค่าผิดสภาพมีค่าเป็นบวกมาก) การคาดหมายปริมาณฝนมีความผิดพลาดอยู่ระหว่าง +-30% จากค่าที่ตรวจวัดได้ The objective of this research is to study the linkage of ENSO (El Nino and La Nina) with the interannual variation of monsoon rainfall in Thailand. The data of air-temperature, precipitation, pressure, wind speed and wind direction at Chantaburi, Ranong and Surat Thani Observation Station of Meteorological Department (TMD) were analyzed from 1951 to 1997. The yearly anomalies were computed from the baseline period as recommended by ICPP from 1961 to 1990. The trends of these yearly meteorological data also were computed by the method of time series analysis. The result shows that the yearly anomaly of temperature, precipitation, pressure and wind direction had less correlation to ENSO respectively. This was because that El Nino or La Nina did not occur for the whole year every time. The results were compared the three-month anomalies of the meteorological data to the strength of ENSO phenomena at the same period of time. This found that in rainy season at the eastern part rainfall 75.8% (of all years) butat southern part rainfall 54.4% (of all years and fall in North-East monsoon 32.8% of all years). During the El Nino years there were 52.5% little rain and 47.5% more rain (of El Nino years). During the La Nina years were found 64% much rain and 36% little rain (of La Nina years). For the strong El Nino year, the monsoon index was weak from anomaly. The correlation of rain and SOI were computed for prediction of the rain fall and find error +-30% from the real observation. 2007-08-29T11:44:24Z 2007-08-29T11:44:24Z 2542 Thesis 9743335579 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3944 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8277184 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เอลนีโญ
ลานีญา
ฝน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี
ฝน -- ไทย -- ระนอง
ฝน -- ไทย -- จันทบุรี
มรสุม -- ไทย
spellingShingle เอลนีโญ
ลานีญา
ฝน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี
ฝน -- ไทย -- ระนอง
ฝน -- ไทย -- จันทบุรี
มรสุม -- ไทย
บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507-
การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
author2 อัปสรสุดา ศิริพงศ์
author_facet อัปสรสุดา ศิริพงศ์
บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507-
format Theses and Dissertations
author บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507-
author_sort บุญธรรม ตั้งล้ำเลิศ, 2507-
title การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
title_short การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
title_full การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
title_fullStr การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
title_full_unstemmed การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
title_sort การเชื่อมโยงปรากฏการณ์เอ็นโซกับการแปรผันของปริมาณฝนในฤดูมรสุมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระนองทางชายฝั่งทะเลภาคใต้และจังหวัดจันทบุรีทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3944
_version_ 1681413376630063104