โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ภพ เหลืองจามีกร
Other Authors: พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39876
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.39876
record_format dspace
spelling th-cuir.398762014-02-27T03:10:46Z โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม The femoral prosthesis for Thai people proximal femoral parameter femoral model and sizing ภพ เหลืองจามีกร พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์ วัชระ วิไลรัตน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย กระดูกต้นขา ข้อเทียม กายอุปกรณ์ -- ไทย -- การวัด Femur Artificial joints Prosthesis -- Thailand -- Measurement วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 ข้อมูลการวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้นในคนไทย 114 คน ถูกวัดจากภาพถ่ายรังสีในแนว AP และ Lateral โดยหาค่าเฉลี่ยความกว้างของกระดูกต้นขาส่วนต้นที่ระดับรอยตัดคอกระดูก และที่ต่ำกว่ารอยตัดคอกระดูกที่ระดับ 20, 40, 60 ม.ม. ในแนว AP คือ 45.14, 27.82, 18.79, 15.14 และ 11.77 ม.ม และในแนว Lateral คือ44.21, 28.67, 19.54, 16.06และ 14.08 ม.ม. ตามลำดับ ความยาวของกระดูกต้นขาจากตำแหน่งของส่วนที่แคบที่สุดของกระดูกต้นขาวัดจากระดับรอยตัดคอกระดูกมีค่าโดยเฉลี่ย คือ 124.54 ม.ม. และเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับขนาดทางกายวิภาคของคนเกาหลี ฝรั่งเศส และ อเมริกัน พบว่า ในแนว AP ความกว้างของกระดูกต้นบริเวณ Metaphysis ในคนไทยจะกว้างกว่าคนฝรั่งเศส และอเมริกันอย่างมีนัยสำคัญและ ความกว้างของส่วนที่แคบที่สุดจะแคบกว่า คนฝรั่งเศสและอเมริกาส่วนในแนว Lateral พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน และเมื่อเปรียบเทียบกับคนเกาหลี พบว่าในแนว AP ความกว้างของกระดูกต้นบริเวณ Metaphysis ในคนไทยจะแคบกว่าและ ความกว้างของส่วนที่แคบที่สุด จะกว้างกว่า คนเกาหลี ส่วนในแนว Lateral พบว่าของคนไทยกว้างกว่าของคนเกาหลีทั้งสองส่วน กายวิภาคของกระดูกต้นขาคนไทยแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ตามค่า Canal Flaring Index( CFI ) คือกลุ่ม Standard ( CFI 3.0-4.7 ) ร้อยละ 75 กลุ่ม Stovepipe (CFI < 3.0 ) ร้อยละ 9.5 และกลุ่ม Champagne glass (CFI > 4.7 ) ร้อยละ 15.52 จากข้อมูลจะสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขาส่วนต้นของคนไทยโดยใช้โปรแกรม MIMICและนำมาวิเคราะห์เพื่อกำหนดจำนวนขนาดของข้อสะโพกเทียมที่ใช้ในการครอบคลุมประชากรไทยให้ได้มากที่สุดพบว่า ถ้ากำหนดให้มี 3, 4, 5, 6 และ 7 ขนาดจะ ครอบคลุมประชากรไทยได้ประมาณร้อยละ 57.9, 63.2, 69.3, 74.6 และ 94.74 ตามลำดับ Anthropometric data on Antero-posterior (AP) and lateral view of proximal femoral bone of 114 hips in 114 Thai patients were measured using plain X-ray. The mean medio-lateral (ML) width at zero position, 20, 40, 60 mm. below zero position and isthmus position were 45.14, 27.82, 18.79, 15.14 and 11.77 mm. respectively. The mean AP widths were 44.21, 28.67, 19.54, 16.06 and 14.08 mm. respectively. The isthmus length in AP view was 124.54 mm. These data were compared with Korean, French and American and found that the ML width in metaphyseal area were wider than French and American ( statistical significant , p < 0.05) and the ML width at isthmus area were narrower ( p < 0.05). In lateral view, the AP width between Thai, French and American people were not different. Comparing with Korean data, the ML width of Thai patients were narrower and isthmus width were wider than Korean. ( p< 0.05). In lateral view, the AP widths of all regions in Thai were wider. (p< 0.05)The proximal geometry were classified in 3 types by the canal flaring index ( CFI ). Standard type ( CFI = 3.0-4.7 ) was 75%, stovepipe type ( CFI < 3.0 )was 9.5% and champagne glass type( CFI > 4.7 ) was 15.5%. From the anthropometric data of Thai proximal femur, we can draw the diagram of AP and lateral view of Thai proximal femur and simulate the 3D femoral model of Thai population by using program MIMIC. In the process of sizing the proximal femoral prosthesis for covering the Thai population, by using 3, 4, 5, 6 and 7 sizes , we cover Thai populations 57.9%, 63.25%, 69.3%, 74.6% and 94.74% respectively. 2014-02-27T03:10:46Z 2014-02-27T03:10:46Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39876 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กระดูกต้นขา
ข้อเทียม
กายอุปกรณ์ -- ไทย -- การวัด
Femur
Artificial joints
Prosthesis -- Thailand -- Measurement
spellingShingle กระดูกต้นขา
ข้อเทียม
กายอุปกรณ์ -- ไทย -- การวัด
Femur
Artificial joints
Prosthesis -- Thailand -- Measurement
ภพ เหลืองจามีกร
โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์
author_facet พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์
ภพ เหลืองจามีกร
format Theses and Dissertations
author ภพ เหลืองจามีกร
author_sort ภพ เหลืองจามีกร
title โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
title_short โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
title_full โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
title_fullStr โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
title_full_unstemmed โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
title_sort โครงการจัดสร้างข้อสะโพกเทียมสำหรับประชากรไทย การวัดขนาดทางกายวิภาคของกระดูกต้นขาส่วนต้น การสร้างแบบจำลองกระดูกต้นขา และการวิเคราะห์จำนวนขนาดสำหรับการจัดสร้างข้อสะโพกเทียม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39876
_version_ 1681412866507276288