การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก

วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สาธิดา ทศานนท์
Other Authors: ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40183
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1331
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.40183
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เว็บไซต์ -- การออกแบบ
กองทัพบก -- ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบ
Web sites -- Design
Royal Thai Army -- Computer network resources -- Design
spellingShingle เว็บไซต์ -- การออกแบบ
กองทัพบก -- ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบ
Web sites -- Design
Royal Thai Army -- Computer network resources -- Design
สาธิดา ทศานนท์
การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์
author_facet ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์
สาธิดา ทศานนท์
format Theses and Dissertations
author สาธิดา ทศานนท์
author_sort สาธิดา ทศานนท์
title การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
title_short การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
title_full การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
title_fullStr การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
title_full_unstemmed การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
title_sort การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40183
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1331
_version_ 1726157020340420608
spelling th-cuir.401832021-12-13T08:30:48Z การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก Standard format design on internet for Royal Thai Army สาธิดา ทศานนท์ ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ เว็บไซต์ -- การออกแบบ กองทัพบก -- ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบ Web sites -- Design Royal Thai Army -- Computer network resources -- Design วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาและหาหลักการของรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก การวิจัยอิงแนวคิดเกี่ยวกับเอกลักษณ์องค์กรที่ดีว่าต้องมาจากวิสัยทัศน์ขององค์กรนั้นๆแล้วนำไปรวมกับหลักการแบ่งกลุ่มบุคลิกภาพตามทฤษฏีสเกลภาพ (World Image Scale) แล้วนำมาใช้ในการออกแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 100 นาย เพื่อหาว่าบุคลิกภาพใดเหมาะสม จากนั้นนำบุคลิกภาพที่ได้คือ กลุ่มได้รับความนิยม (Classic) ไปรวมกับองค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซท์ ในแบบสอบถามที่ 2 โดยถามจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 30 นาย คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในกองทัพบกและกลุ่มผู้เชี่ยวชาญบริษัทเอกชน จากข้อมูลที่ได้ผู้วิจัยนำไปวิเคราะห์ เพื่อเป็นแนวทางใน การออกแบบรูปแบบมาตรฐานในสื่ออินเทอร์เน็ตสำหรับกองทัพบก ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า บุคลิกภาพในกลุ่มได้รับความนิยม (Classic) มีความเหมาะสมกับกองทัพบกมากที่สุด ที่มีองค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซท์ 5 ประเภท ดังนี้ 1. ตัวอักษร ควรใช้ตัวอักษร 2 รูปแบบ มีการจัดวางแบบสม่ำเสมอ จัดชิดซ้ายหรือจัดศูนย์กลาง ตัวอักษรแบบตัวมีหัวกลม(ไทย) เช่น DB Fongnam/bold หรือ JS Mookda และตัวไม่มีเชิง(อังกฤษ) แบบตัวหนา ตัวอักษรหัวเรื่องควรใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ การจัดวางแบบ 2 คอลัมภ์ ตัวอักษรแบบจัดล้อมภาพ ตัวอักษรเนื้อหาข้อความภาษาไทยแบบ ทาโฮมา(Tahoma) และตัวอักษรเนื้อหาข้อความภาษาอังกฤษแบบเอเรียล(Arial) ควรใช้ตัวอักษรเนื้อหาข้อความแบบตัวกลาง, และควรใช้เนื้อหาข้อความภาษาอังกฤษแบบตัวพิมพ์ใหญ่เป็นตัวนำแล้วตามด้วยตัวอักษรแบบตัวพิมพ์เล็ก 2. สี ควรใช้รูปแบบชุดสีพื้นฐานแบบชุดสีที่คล้ายคลึงกัน ตัวอักษรเนื้อหาข้อความควรใช้สีเดียว ตัวอักษรเนื้อหาข้อความและพื้นหลังควรใช้สีดำ หรือ ขาว การเปลี่ยนสีของลิงค์ที่ยังไม่ได้คลิกกับลิงค์ขณะที่คลิกควรใข้ชุดสีเดียวหรือ สีตรงข้าม และการเปลี่ยนสีของลิงค์ที่ยังไม่ได้คลิกกับลิงค์ที่ผ่านการคลิกไปแล้วควรใข้ชุดสีที่คล้ายคลึงกัน 3. เครื่องมือนำทาง ควรวางตำแหน่งแถบเครื่องมือนำทางในแนวนอนและแนวตั้ง ประเภทของภาพควรมีภาพพร้อมข้อความอธิบายกำกับ ประเภทของสัญรูปควรเป็นแบบภาพนามธรรม ลักษณข้อความเชื่อมโยงควรใช้ตัวอักษรเชื่อมโยงที่มีสีแตกต่างจากข้อความอื่น ประเภทตราสัญลักษณ์ควรใช้สีเดียวและจัดวางแบบศูนย์กลางหรือชิดซ้าย 4. ภาพประกอบ ควรใช้องค์ประกอบแบบสี่เหลี่ยม ประเภทของภาพประกอบแบบภาพเหมือนจริง และควรใช้ภาพนิ่ง 2 มิติ 5. โครงสร้างหน้าเว็บไซต์ คือควรใช้โครงสร้างหน้าในแนวตั้ง และมีรูปแบบการจัดวางเมนูทางด้านบนหรือทางด้านบนและด้านซ้าย This research aims to determine the development approaches and identify principle of the standard format design on internet for Royal Thai Army. The research is based on the main idea that good image of the organization derives from its visions. The World Image Scale Theory was applied to this research. From the aforementioned information, the questionnaires concluded which personalities were prepared and tested with the target groups of 100 subjects. The personality with the highest scores, namely, the Classic Group, then, was combined with the elements of the website design in the second questionnaire. The questionnaires were distributed to 30 design specialists; half were specialists in the Royal Thai Army and the rest were specialists from private design sectors. The researcher analyzed the findings to conclude the approach for designing the standard format of Internet media of the Royal Thai Army. It is found that the favorite personality, the Classic Group, is mostly appropriate for the Royal Thai Army with 5 elements of the website design as follows: 1. Two font types should be used with regular, flush left or centered arrangement, DB Fongnam/ bold or JS Mookda (for Thai) and Sans Serif (for English). The headline should be upper case, 2 columns and contour. The content in Thai should be Tahoma while the content in English should be Arial, middle size, beginning with an upper case and then lower cases. 2. Color scheme should be the monochromatic color scheme and the content should be the same color. The letters and the background should be black or white. The link clicked or being clicked should be the complementary or contradictory color scheme while the link clicked or not clicked should be the analogous color scheme. 3. Navigator bar should be positioned either horizontally or vertically. The pictures should be illustrated and should be the abstract representation. The linkage message should be different colors. The symbol should be the monochromatic color scheme and positioned on the center or flush Left. 4. Illustration should be square shape, realistic and 2 dimension pictures. 5. Lay out of the website should be a vertical position and the menu should be positioned top grid or top and nested left grid. 2014-03-05T02:21:30Z 2014-03-05T02:21:30Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40183 10.14457/CU.the.2007.1331 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1331 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย