การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40269 http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.587 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.40269 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.402692021-12-09T02:53:35Z การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป Improvement of process layout using simulation : case study of garment factory สมภัสสร เอื้ออารีมิตร ธารทัศน์ โมกขมรรคกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การจัดการโรงงาน อุตสาหกรรมเสื้อผ้า การวางผังโรงงาน โรงงาน -- การออกแบบและการสร้าง การผลิตแบบลีน Factory management Clothing trade Plant layout Factories -- Design and construction Lean manufacturing วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การปรับปรุงผังโรงงานเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งการปรับปรุงผังโรงงานมีปัจจัยและข้อจำกัดหลายอย่างที่ต้องนำมาร่วมพิจารณา โดยข้อจำกัดส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับ การจัดการไหลของวัสดุ, รูปร่างลักษณะ และขนาดพื้นที่ และในการปรับปรุงผังโรงงานนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความต้องการของผู้ออกแบบผังโรงงานและผู้ปฏิบัติงาน การวิจัยครั้งนี้จะทำการปรับปรุงผังโรงงานโดยใช้โรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเป็นกรณีศึกษา ซึ่งโรงงานแห่งนี้เป็นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดย่อม วัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อหาโอกาสปรับปรุงผังโรงงานและจัดวางตำแหน่งเครื่องจักรใหม่เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น, ลดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและลดเวลาที่ใช้ในการรอคอยระหว่างการผลิต ซึ่งวิธีการที่ใช้ในการวิจัย คือการเก็บข้อมูลเวลาที่ใช้ในการผลิตและเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายสินค้าเพื่อนำมาเป็นข้อมูลนำเข้าใส่โปรแกรมการจำลองสถานการณ์ ที่เรียกว่า Arena และทำการจำลองสถานการณ์การจัดผังโรงงานทั้งหมด 4 แบบ ได้แก่ ผังโรงงานปัจจุบัน, ผังโรงงานตามชนิดเครื่องจักร, ผังโรงงานตามชนิดสินค้าซึ่งใช้จำนวนเครื่องจักรเท่ากับจำนวนเครื่องจักรที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนของผังโรงงานปัจจุบัน และผังโรงงานตามชนิดสินค้าที่จัดสมดุลการผลิต เพื่อนำผลจากการจำลองสถานการณ์ผังโรงงานทั้ง 4 แบบมาเปรียบเทียบกัน ผลที่ได้จากการจำลองสถานการณ์ พบว่า ผังโรงงานตามชนิดเครื่องจักรมีความเหมาะสมในการนำมาปรับใช้มากกว่าผังโรงงานชนิดอื่น เนื่องจากสามารถช่วยลดเวลาที่ใช้ในการขนย้ายลงได้ 30.16%, ลดเวลาที่ใช้ในการรอคอยได้ 71.15% และช่วยผลิตสินค้าได้มากกว่าผังโรงงานปัจจุบัน 3.27% และจากการคิดยอดขายต่อต้นทุนเครื่องจักรที่ใช้ของผังโรงงานแต่ละแบบ พบว่าการจัดผังโรงงานตามชนิดเครื่องจักรช่วยเพิ่มกำไรได้มากที่สุด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการจัดผังโรงงานตามชนิดเครื่องจักรมีความเหมาะสมในการนำมาปรับใช้กับโรงงานแห่งนี้ เพื่อทำให้การผลิตสินค้ามีประสิทธิภาพดีขึ้นและช่วยให้ผลิตสินค้าได้ทันตามเวลาที่ลูกค้ากำหนด Improving layout is the way to increase the efficiency of existing operations which many factors and limitations are considered. Limitations mostly involve flow of material, appearance and area size. The improvement depends on the objectives and requirements of layout designers and operators. This research took place in a small-sized garment manufacturing as case study. The objective of this study is to find an opportunity to improve layout and rearrange machine position in order to increasing productivity, reducing transfer time and waiting time. The methodology is to gather data such as process time and transfer time and employ them as input data for simulation software which is called Arena. 4 Layouts design - including Current, Process, Product and Product which line balancing – are simulated to compare performance measures. The result from the Arena Simulation was shown Process Layout is more appropriate than the others because it can reduce transfer time by 30.16%, reduce waiting time by 71.15% and increase productivity by 3.27%. Moreover, considering sale per machine cost of all layouts, it is found that Process Layout has the highest profit. Therefore, Process Layout would be suitable for this factory. 2014-03-06T07:09:04Z 2014-03-06T07:09:04Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40269 10.14457/CU.the.2007.587 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.587 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การจัดการโรงงาน อุตสาหกรรมเสื้อผ้า การวางผังโรงงาน โรงงาน -- การออกแบบและการสร้าง การผลิตแบบลีน Factory management Clothing trade Plant layout Factories -- Design and construction Lean manufacturing |
spellingShingle |
การจัดการโรงงาน อุตสาหกรรมเสื้อผ้า การวางผังโรงงาน โรงงาน -- การออกแบบและการสร้าง การผลิตแบบลีน Factory management Clothing trade Plant layout Factories -- Design and construction Lean manufacturing สมภัสสร เอื้ออารีมิตร การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
author2 |
ธารทัศน์ โมกขมรรคกุล |
author_facet |
ธารทัศน์ โมกขมรรคกุล สมภัสสร เอื้ออารีมิตร |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สมภัสสร เอื้ออารีมิตร |
author_sort |
สมภัสสร เอื้ออารีมิตร |
title |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
title_short |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
title_full |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
title_fullStr |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
title_full_unstemmed |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
title_sort |
การปรับปรุงผังโรงงานโดยการใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40269 http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.587 |
_version_ |
1726157021350199296 |