ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พุทธิกุล ทองเนื้อสุก
Other Authors: ชวลิต รัตนธรรมสกุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40973
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1090
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.40973
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic น้ำเสีย -- การบำบัด
น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจน
Sewage -- Purification
Sewage -- Purification -- Anaerobic treatment
spellingShingle น้ำเสีย -- การบำบัด
น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจน
Sewage -- Purification
Sewage -- Purification -- Anaerobic treatment
พุทธิกุล ทองเนื้อสุก
ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 ชวลิต รัตนธรรมสกุล
author_facet ชวลิต รัตนธรรมสกุล
พุทธิกุล ทองเนื้อสุก
format Theses and Dissertations
author พุทธิกุล ทองเนื้อสุก
author_sort พุทธิกุล ทองเนื้อสุก
title ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
title_short ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
title_full ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
title_fullStr ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
title_full_unstemmed ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
title_sort ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40973
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1090
_version_ 1726157025609515008
spelling th-cuir.409732021-12-13T03:25:34Z ผลของอิออนลบต่อการลดไนเตรทในน้ำเสียโดยระบบอีจีเอสบี Effect of anons on intrate reduction in wastewater by egsb system พุทธิกุล ทองเนื้อสุก ชวลิต รัตนธรรมสกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ น้ำเสีย -- การบำบัด น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจน Sewage -- Purification Sewage -- Purification -- Anaerobic treatment วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นของผล การกำจัดไนเตรทในน้ำเสียสังเคราะห์โดยมีอิออนลบ ได้แก่ ซัลเฟตคลอไรด์ และไนไตรท์ เป็นสารรบกวนในกระบวนการกำจัดไนเตรทและซีโอดีในน้ำเสียด้วยระบบอีจีเอสบี โดยงานวิจัยทั้งหมดนี้เป็นการศึกษาในระดับห้องปฏิบัติการ กำหนด น้ำเสียเข้า สู่ถังปฏิกรณ์อีจีเอสบีด้วยความเร็ว 3 ม./ ชม. มีเวลากักเก็บน้ำ 3.8 ชม. มีค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 6.6 กก.ซีโอดี/ลบ.ม./วัน โดยใช้น้ำตาลทรายเป็นน้ำเสียสังเคราะห์มีความเข้มข้นซีโอดี 1,000 มก./ล. และมีความเข้มข้นของไนเตรท 100 มก./ล. ผลการทดลอง พบว่า ระบบอีจีเอสบี ที่เดินระบบโดยที่ไม่มีสารรบกวน มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี อยู่ในช่วง 92 – 95 % และมีประสิทธิภาพในการกำจัดไนเตรท อยู่ในช่วง 98 – 99 % ผลของสารรบกวนซัลเฟตที่ความเข้มข้น 50, 100 และ 150 มก./ล. มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 92 , 94 และ 89 % ตามลำดับ และมีประสิทธิภาพในการกำจัดไนเตรท 97, 97 และ 97 % ตามลำดับ ผลของสารรบกวนคลอไรด์ที่ความเข้มข้น 1,000, 1,500 และ 2,000 มก./ล. มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 92, 94 และ 91 % ตามลำดับ และมีประสิทธิภาพในการกำจัด ไนเตรท 99, 99 และ 99 % ตามลำดับ ผลของสารรบกวนไนไตรท์ที่ความเข้มข้น 50, 100 และ 200 มก./ล. มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 92, 94 และ 92 % ตามลำดับ และมีประสิทธิภาพในการกำจัด ไนเตรท เท่ากับ 97, 98 และ 99 % ตามลำดับ การศึกษาปริมาณก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ระบบ อีจีเอสบีที่ไม่มีสารรบกวน มีปริมาณก๊าซชีวภาพอยู่ในช่วง 5,900 – 6,000 มล./วัน สำหรับปริมาณก๊าซที่เกิดจากระบบอีจีเอสบีที่มีสารรบกวนซัลเฟต คลอไรด์ และไนไตรท์ มีปริมาณก๊าซอยู่ในช่วง 5,100 – 5,600, 5,500 – 5,900, 5,000 – 5,500 มล./วัน ตามลำดับ ดังนั้นสรุปผลได้ว่า สารรบกวนประเภทซัลเฟต คลอไรด์ และไนไตรท์ที่ความเข้มข้น 50 - 150 มก./ล., 1,000 – 2,000 มก./ล. และ 50 – 200 มก./ล. ตามลำดับ มีผลต่อการลดลงของประสิทธิภาพในการกำจัดไนเตรท และ ซีโอดีในน้ำเสียสังเคราะห์น้อยมาก และมีผลทำให้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่เกิดจากระบบอีจีเอสบีลดลงเล็กน้อย ดังนั้น ระบบอีจีเอสบีสามารถทนต่อสารรบกวนอิออนลบในปริมาณที่ระบุไว้ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการใช้กำจัดซีโอดี และ ไนเตรท ในการบำบัดน้ำเสียที่มีซัลเฟต คลอไรด์ หรือ ไนไตรท์ เช่น น้ำเสียจากโรงงานผลิตสแตนเลส โรงงานปลากระป๋อง โรงงานผักกาดดองกระป๋อง หรือน้ำเสียจากสะพานปลา เป็นต้น This research was conducted to investigate effect of anions such as sulfate, chloride and nitrite on nitrate and COD removal efficiencies by EGSB system. Laboratory - scale experimental set- up of EGSB system was employed with organic loading rate 6.6 kg.COD/m3-d. The upflow velocities for all reactors were kept at 3 m/hr, resulting in HRT of 3.8 hrs. The feed had COD and nitrate concentration of 1,000 and 100 mg/l, respectively. From the experimental results, it was found that the EGSB system with out interfereing anions had COD and nitrate removal efficiencies in the range of 92 – 95 % and 98 – 99 %,respectively. In case of EGSB system with sulfate having concentrations at 50, 100 and 150 mg/l as an interference ,it was found that COD efficiencies were 92, 94 and 89 %,respectively ;for nitrate removal efficiencies were 97, 97 and 97 % respectively. In case with chloride having concentrations at 1000, 1500 and 2000 mg/l, it was found that COD removal efficiencies were 92, 94 and 91 % ,respectively ; for nitrate removal efficiencies were 99, 99 and 99 %, respectively. In case with nitrite having concentrations at 50, 100 and 200 mg/l, it was found that COD removal efficiencies were 92, 94 and 92 % ,respectively ; for nitrate removal efficiencies were 97, 98 and 99 % ,respectively. For Biogas production with EGSB system, the system without interfereing anions seems to have higher biogas production potential as amount of 5,900 – 6,000 ml./day of biogas was obtained. In contrast to the system with interfere anions, less amount of biogas production were obtained in the range of 5,100 – 5,600, 5,500 – 5,900 and 5,000 – 5,500 ml/day with sulfate, chloride and nitrite interference, respectively. Therefore, it seems that interfereing anions of sulfate, chloride and nitrite at above mention concentration did not significantly affect system performance in terms of COD and nitrate removal efficiencies ; however, they resulted in a significantly decrease in biogas production. Then EGSB system can be alternative system for treatment of COD and nitrate removal containing wastewater with interfere anions such as fish pier’s wastewater, stainless industrial wastewater, canned fish industrial wastewater and canned pickled vegetable industrial wastewater. 2014-03-17T01:38:28Z 2014-03-17T01:38:28Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40973 10.14457/CU.the.2007.1090 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1090 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย