การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม

พิจารณาถึงพฤติกรรมการบริหารกองทุนรวม ภายใต้ภาวะความไม่เท่าเทียมกันของสารสนเทศในการบริหารกองทุน ระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุน และผู้บริหารกองทุน ว่าพฤติกรรมดังกล่าวจะมีผลต่อความพึงพอใจ (Preference) ของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างไร โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้ Stochastic Dominance และการประมวลผลสมการถดถอยแบบกำลังสองน้อ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อัครนันท์ คิดสม
Other Authors: โสภณ ขันติอาคม
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40981
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.40981
record_format dspace
spelling th-cuir.409812014-03-17T06:08:13Z การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม Testing mutual fund management behavior อัครนันท์ คิดสม โสภณ ขันติอาคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Mutual funds Mutual funds -- Thailand กองทุนรวม กองทุนรวม -- ไทย พิจารณาถึงพฤติกรรมการบริหารกองทุนรวม ภายใต้ภาวะความไม่เท่าเทียมกันของสารสนเทศในการบริหารกองทุน ระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุน และผู้บริหารกองทุน ว่าพฤติกรรมดังกล่าวจะมีผลต่อความพึงพอใจ (Preference) ของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างไร โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้ Stochastic Dominance และการประมวลผลสมการถดถอยแบบกำลังสองน้อยที่สุด เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ในการซื้อขายหุ้นของกองทุนรวม และอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนปิดที่เน้นลงทุนในหุ้นทุน ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2538 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2539 ซึ่งให้ผลการศึกษาที่สอดคล้องกันกล่าวคือ ผู้วิจัยพบว่าพฤติกรรมการซื้อขายหุ้นของผู้จัดการกองทุน ที่มีความถี่ในการซื้อขายหุ้นมากขึ้น ไม่สามารถทำให้อรรถประโยชน์ของนักลงทุน ที่มีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเพิ่มขึ้นได้ ในทางตรงกันข้ามความถี่ในการซื้อขายหุ้นในช่วงเวลานี้ กลับมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุน ในช่วงเวลาถัดไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 99% ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าการบริหารกองทุนรวม ภายใต้ภาวะการณ์ดังกล่าวมีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องจากการซื้อขายหุ้นของผู้จัดการกองทุนที่เพิ่มความถี่มากขึ้น ไม่สามารถเพิ่มอรรถประโยชน์และอัตราผลตอบแทนส่วนเกินให้แก่นักลงทุนได้ และจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และดัชนีวัดความสมมาตรของอัตราผลตอบแทนรายไตรมาสของกองทุนปิด ที่เน้นลงทุนในหุ้นทุน จำนวน 58 กองทุน ในช่วง พ.ศ. 2538-2539 พบว่าลักษณะการกระจายของอัตราผลตอบแทนของกองทุนดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า นักลงทุนมีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 99% ดังนั้นจากลักษณะการกระจายของอัตราผลตอบแทนของกองทุนดังกล่าว นักลงทุนที่มีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจะไม่ลงทุนในกองทุนรวม อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถสรุปได้ว่า นักลงทุนที่ลงทุนในกองทุนรวมในช่วงเวลาดังกล่าว มีทัศนะคติชอบความเสี่ยง เนื่องจากต้องพิจารณาว่าในขณะที่นักลงทุนได้ตัดสินใจลงทุนใน กองทุนรวม บริษัทจัดการกองทุนและตัวแทนจำหน่ายกองทุน ได้แจ้งถึงความเสี่ยงในการลงทุนในกองทุนไว้อย่างเพียงพอหรือไม่ To test the relationship of the mutual fund management's trading behavior and the unit trust holders' preference, under the circumstance of asymmetric information between unit trust holders and the fund management team. The study chose stochastic dominance and ordinary least square in testing the relationship between number of portfolio turnover and the excess return of equity closed-end funds in the period of July 1995-December 1996. The results conclude that high number of portfolio turnover cannot increase the utility among risk averse investors. In other words, by using 99% statistical significant level, increasing portfolio turnover at this period tends to decrease mutual fund's excess return in the following period. This study draws a conclusion that those mutual funds using high portfolio turnover technique at the current period does not provide efficiency to the funds because it decreases the excess return, thus lower investors' utility. The study of the relationship of the distribution moments (mean, variance and skewness of mutual fund return) at 99% statistical significant level, using quarterly returns during 1995-1996 from 58 equity closed-end funds, proves that the distribution of these mutual funds' returns are inconsistent with the preference of the risk averse investors hypothesis. Logically, the risk averse investors do not prefer to invest in these mutual funds. However, the study cannot conclude that the mutual funds investors in that period are all risk lovers because they might or might not receive adequate information on their risk exposure from mutual fund companies or unit trust sellers prior to their investment 2014-03-17T06:07:53Z 2014-03-17T06:07:53Z 2540 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40981 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic Mutual funds
Mutual funds -- Thailand
กองทุนรวม
กองทุนรวม -- ไทย
spellingShingle Mutual funds
Mutual funds -- Thailand
กองทุนรวม
กองทุนรวม -- ไทย
อัครนันท์ คิดสม
การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
description พิจารณาถึงพฤติกรรมการบริหารกองทุนรวม ภายใต้ภาวะความไม่เท่าเทียมกันของสารสนเทศในการบริหารกองทุน ระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุน และผู้บริหารกองทุน ว่าพฤติกรรมดังกล่าวจะมีผลต่อความพึงพอใจ (Preference) ของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างไร โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้ Stochastic Dominance และการประมวลผลสมการถดถอยแบบกำลังสองน้อยที่สุด เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ในการซื้อขายหุ้นของกองทุนรวม และอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนปิดที่เน้นลงทุนในหุ้นทุน ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2538 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2539 ซึ่งให้ผลการศึกษาที่สอดคล้องกันกล่าวคือ ผู้วิจัยพบว่าพฤติกรรมการซื้อขายหุ้นของผู้จัดการกองทุน ที่มีความถี่ในการซื้อขายหุ้นมากขึ้น ไม่สามารถทำให้อรรถประโยชน์ของนักลงทุน ที่มีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเพิ่มขึ้นได้ ในทางตรงกันข้ามความถี่ในการซื้อขายหุ้นในช่วงเวลานี้ กลับมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุน ในช่วงเวลาถัดไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 99% ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าการบริหารกองทุนรวม ภายใต้ภาวะการณ์ดังกล่าวมีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องจากการซื้อขายหุ้นของผู้จัดการกองทุนที่เพิ่มความถี่มากขึ้น ไม่สามารถเพิ่มอรรถประโยชน์และอัตราผลตอบแทนส่วนเกินให้แก่นักลงทุนได้ และจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และดัชนีวัดความสมมาตรของอัตราผลตอบแทนรายไตรมาสของกองทุนปิด ที่เน้นลงทุนในหุ้นทุน จำนวน 58 กองทุน ในช่วง พ.ศ. 2538-2539 พบว่าลักษณะการกระจายของอัตราผลตอบแทนของกองทุนดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า นักลงทุนมีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 99% ดังนั้นจากลักษณะการกระจายของอัตราผลตอบแทนของกองทุนดังกล่าว นักลงทุนที่มีทัศนะคติหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจะไม่ลงทุนในกองทุนรวม อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถสรุปได้ว่า นักลงทุนที่ลงทุนในกองทุนรวมในช่วงเวลาดังกล่าว มีทัศนะคติชอบความเสี่ยง เนื่องจากต้องพิจารณาว่าในขณะที่นักลงทุนได้ตัดสินใจลงทุนใน กองทุนรวม บริษัทจัดการกองทุนและตัวแทนจำหน่ายกองทุน ได้แจ้งถึงความเสี่ยงในการลงทุนในกองทุนไว้อย่างเพียงพอหรือไม่
author2 โสภณ ขันติอาคม
author_facet โสภณ ขันติอาคม
อัครนันท์ คิดสม
format Theses and Dissertations
author อัครนันท์ คิดสม
author_sort อัครนันท์ คิดสม
title การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
title_short การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
title_full การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
title_fullStr การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
title_full_unstemmed การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
title_sort การทดสอบพฤติกรรมการบริหารการลงทุนของกองทุนรวม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40981
_version_ 1681413428533526528