การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นพพร จรุงเกียรติ, 2521-
Other Authors: ชวลิต รัตนธรรมสกุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4106
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.4106
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic น้ำเสีย--การบำบัด--การกรอง
spellingShingle น้ำเสีย--การบำบัด--การกรอง
นพพร จรุงเกียรติ, 2521-
การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 ชวลิต รัตนธรรมสกุล
author_facet ชวลิต รัตนธรรมสกุล
นพพร จรุงเกียรติ, 2521-
format Theses and Dissertations
author นพพร จรุงเกียรติ, 2521-
author_sort นพพร จรุงเกียรติ, 2521-
title การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
title_short การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
title_full การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
title_fullStr การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
title_full_unstemmed การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
title_sort การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4106
_version_ 1681413351956021248
spelling th-cuir.41062008-05-24T07:02:15Z การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดกับที่สำหรับตลาดสดติดริมน้ำ Development of small-scale on-site wastewater treatment for riverside market นพพร จรุงเกียรติ, 2521- ชวลิต รัตนธรรมสกุล อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บันฑิตวิทยาลัย น้ำเสีย--การบำบัด--การกรอง วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 การวิจัยครั้งนี้ศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดของถุงเกรอะ-กรองเติมอากาศ (Septic-Aerobic Fixed-film Reactor) กับระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรองแบบเติมอากาศสัมผัส (Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Reactor) และศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดของระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรอบแบบเติมอากาศสัมผัส (Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Reactor) สำหรับตลาดสดติดริมน้ำที่ใช้ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสียต่างกันคือแบบ 36 ชั่วโมงกับแบบ 48 ชั่วโมงโดยเป็นระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กแบบติดตั้งยู่กับที่ มีค่าอัตราการไหลเข้าของน้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตรต่อวันและอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์เท่ากับ 1.0 กิโลกรัมบีโอดีต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน พบว่าระบบถังเกรอะ-กรองเติมอากาศสัมผัสมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียไม่แตกต่างกันกับระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรองแบบเติมอากาศสัมผัสโดยระบบถังเกรอะ-กรองเติมอากาศมีประสิทธิภาพการบำบัดของแข็งละลายได้ทั้งหมด ของแข็งแขวนลอย ของแข็งตะกอนหนัก บีโอดีซัลไฟด์ ไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ฟอสฟอรัสทั้งหมด น้ำมันและไขมัน และฟีคัลโคลิฟอร์มร้อยละ 20.80 93.81 99.48 94.59 100.00 84.78 11.53 92.52 และ 99.96 ตามลำดับและระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรองแบบเติมอากาศสัมผัสที่ใช้ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสีย 36 ชั่วโมงมีประสิทธิภาพการบำบัดของแข็งละลายได้ทั้งหมด ของแข็งแขวนลอย ของแข็งตะกอนหนัก บีโอดี ซัลไฟด์ ไนโตรเจนในรูป ทีเคเอ็น ฟอสฟอรัสทั้งหมด น้ำมันและไขมัน และฟีคัลโคลิฟอร์มร้อยละ 51.33 94.60 99.79 96.24 100.00 90.52 27.26 98.71 และ 99.95 ตามลำดับ ระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรองแบบเติมอากาศสัมผัสที่ใช้ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสีย 36 ชั่วโมงกับแบบ 48 ชั่วโมงมีประสิทธิภาพการบำบัดไม่แตกต่างกันโดยลำดับ ระบบถังเกรอะ-กรองไร้อากาศ-กรองแบบเติมอากาศสัมผัสที่ใช้ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสีย 48 ชั่วโมงมีประสิทธิภาพการบำบัดของแข็งละลายได้ทั้งหมด ของแข็งแขวนลอย ของแข็งตะกอนหนัก บีโอดี ซัลไฟด์ ไนโตรเจนในรู ทีเคเอ็น ฟอสฟอรัสทั้งหมด น้ำมันและไขมัน และ ฟีคัลโคลิฟอร์มเป็นร้อยละ 29.74 93.79 99.68 96.06 100.00 90.07 45.27 87.31 และ 99.95 ตามลำดับ The objective of this research were to compare the treatment efficiency of commercial media Septic-Aerobic Fixed-film Reactor system and media filled Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Factor system Hydraulic Retention Time at 36 hour and 48 hour. Each system was fed by riverside market wastewater at flow rate I m[superscript3]/d and organic loading rate 1.0 kg.BOD/m[superscript3]-d. It was found that the treatment efficiency of Septic-Aerobic Fixed-film Reactor system was similarly Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Reactor system Hydraulic Retention Time at 36 hour. The Septic-Aerobic Fixed-film Reactor system had the efficiency in total dissolved solids, suspended solids, settleable solids, BOD, sulfide, TKN, total phosphorus, grease and oil, and fecal coliform were 20.80%, 93.81%, 99.48%, 94.59%, 100.00% 84.78%, 11.53%,92.52% and 99.96% respectively. And the Septic-Submerged Anaerobic Aerobic Fixed-film Reactor system Hydraulic Retention Time at 36 hour had the efficiency in totaldissolved solids, suspended solids, settleable solids, BOD, sulfide, TKN, total phosphorus, grease and oil, and fecal coliform were 51.44%, 94.60%, 99.79%, 96.24%, 100.00%, 90.52%, 27.26%, 98.71% and 99.95% respectively. For the treatment efficiency of Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Reactor system Hydraulic Retention Time at 36 hour was similarly to the system that Hydraulic Retention Time at 48 hour. The Septic-Submerged Anaerobic-Aerobic Fixed-film Reactor Hydraulic Retention Time at 48 hour had the efficiency in total dissolved solids, suspended solids, settleable solids, BOD, sulfide, TKN, total phosphorus, grease and oil, and fecal coliform were 29.74%, 93.79%, 99.68%, 96.06%, 100.00%, 90.07%, 45.27%, 87.31% and 99.95% respectively. 2007-09-14T06:54:54Z 2007-09-14T06:54:54Z 2547 Thesis 9741764405 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4106 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1669454 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย