การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41429 http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1063 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.41429 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
วีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์ |
author_facet |
วีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์ สมบัติ พงษ์มี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สมบัติ พงษ์มี |
spellingShingle |
สมบัติ พงษ์มี การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
author_sort |
สมบัติ พงษ์มี |
title |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
title_short |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
title_full |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
title_fullStr |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
title_full_unstemmed |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
title_sort |
การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41429 http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1063 |
_version_ |
1724629939704037376 |
spelling |
th-cuir.414292020-10-22T09:52:28Z การจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสื่องในโครงการก่อสร้างอุโมงค์โดยวิธีสมดุลแรงดันดิน Ranking risk factors in tunneling projects by EPB shield method สมบัติ พงษ์มี วีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การก่อสร้างอุโมงค์แบบวิธีสมดุลแรงดันดินเป็นวิธีการขุดเจาะอุโมงค์ที่มีกระบวนการก่อสร้างที่สลับซับซ้อนและมีความไม่แน่นอนสูง อันอาจมีผลกระทบต่อความสำเร็จของโครงการรวมถึงความปลอดภัยของบุคคลและสิ่งก่อสร้างใกล้เคียง ผู้ก่อสร้างอาจจะต้องเผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า อันอาจก่อให้เกิดอุปสรรคต่างๆระหว่างการก่อสร้าง ซึ่งมีทั้งส่วนที่สามารถควบคุมได้และเกินความสามารถในการควบคุม ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ก่อสร้างจักต้องตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญเหล่านี้ งานวิจัยนี้นำเสนอแนวทางการจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง เพื่อให้โครงการก่อสร้างอุโมงค์ที่ใช้วิธีการขุดเจาะแบบสมดุลแรงดันดิน ได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดลำดับความสำคัญของปัจจัย โดยนำไปใช้จัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงก่อนเริ่มการก่อสร้าง และนำผลที่ได้ อันได้แก่ ลำดับความสำคัญและความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยง มากำหนดเป็นมาตรการสำหรับป้องกันและแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในขั้นตอนการก่อสร้าง งานวิจัยทำการประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ และหาระดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยง กล่าวคือ ในการประเมินจัดลำดับความสำคัญได้พิจารณาจากคะแนนความเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตัดปัจจัยในส่วนที่มีค่าลำดับความสำคัญน้อยออกจากการพิจารณา ซึ่งคะแนนความเสี่ยงดังกล่าวคำนวณได้จากผลคูณระหว่างค่าถ่วงน้ำหนักซึ่งได้จากวิธีวิเคราะห์เชิงลำดับขั้นกับค่าระดับความเสี่ยงที่ได้จากแบบสอบถามของแต่ละปัจจัยที่พิจารณา ส่วนในการประเมินหาระดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยง ได้ทำการประเมินใน 3 ด้านพร้อมกัน อันได้แก่ ด้านโอกาสของการเกิดปัจจัย ด้านผลกระทบจากการเกิดปัจจัย และด้านระยะเวลาสำหรับรอคอยหรือแก้ไขสถานการณ์อันเนื่องมาจากการเกิดปัจจัย โดยคำนวณจากผลคูณจากทั้ง 3 ด้านดังกล่าว ซึ่งผลจากการประเมินในส่วนนี้ ทำให้ทราบถึงระดับความรุนแรงของแต่ละปัจจัยที่นำมาพิจารณา วิธีการดังกล่าวได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำซึ่งถูกเลือกเป็นกรณีศึกษา ซึ่งพบว่า วิธีการหาลำดับความสำคัญสามารถแสดงความสำคัญของปัจจัยจากมากไปหาน้อยเรียงตามลำดับ จึงสามารถตัดปัจจัยในส่วนที่มีค่าลำดับความสำคัญน้อยออกจากการพิจารณาได้ ในการประเมินหาความรุนแรงของปัจจัยพบว่า สามารถจำแนกปัจจัยเสี่ยงได้ตามระดับความรุนแรง ซึ่งผลจากการประเมินนี้ ช่วยในการกำหนดแผนหรือมาตรการสำหรับลดความเสี่ยงในระหว่างขั้นตอนการก่อสร้าง เพื่อเตรียมรับผลกระทบรวมถึงแก้ไขปัญหาได้ในทันท่วงที อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับโครงการก่อสร้างที่ได้นำวิธีที่นำเสนอดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ The Earth Pressure Balance (EPB) tunneling method is a tunnel construction technique encompassing numerous complex and risky processes, which are attributed to the success of project and the safety of people and adjacent facilities. The contractor must be encountered with various unexpected events that might present controllable and uncontrollable obstacles during construction. It is therefore necessary for the contractor to realize important tunneling risk factors. This research presents the procedure for ranking risk factors for EPB tunneling projects prior to construction. It provides the critical risk factors and the severity of factors, which can be used to prepare plans or measures for mitigating critical risks during the construction phase. In this research, tunneling risk factors are ranked and their severity is assessed. Ranking factors intends to evaluate and sort the important risks of the project by calculating the project’s risk score, which is the summation of the product between the weight factor assessed by the Analytic Hierarchy process (AHP) and the degree of risk assessed by questionnaires for each risk factor. The severity assessment considers three attributes, namely, the likelihood of occurrence, the impact, and the idle time while correcting the consequence for each risk factor. The multiplication of these three attributes provides the severity level of such factor. The proposed procedure is applied to a water drainage tunneling project selected as a case study. The results show that the assessment procedure can be used to identify significant risk factors. For the severity assessment, the procedure can classify risk factors by severity levels, which can in turn be used to prepare plans or measures for mitigating critical risks during construction promptly. This will be very useful for the tunneling that applies the proposed procedure. 2014-03-19T10:31:41Z 2014-03-19T10:31:41Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41429 10.14457/CU.the.2006.1063 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1063 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |