กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41467 http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.28 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.41467 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การสื่อสาร -- แง่สังคม เนื้อสุกร Communication -- Social aspects Pork |
spellingShingle |
การสื่อสาร -- แง่สังคม เนื้อสุกร Communication -- Social aspects Pork ภาวดี ใจอ่อนน้อม กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
ปาริชาต สถาปิตานนท์ |
author_facet |
ปาริชาต สถาปิตานนท์ ภาวดี ใจอ่อนน้อม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ภาวดี ใจอ่อนน้อม |
author_sort |
ภาวดี ใจอ่อนน้อม |
title |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
title_short |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
title_full |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
title_fullStr |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
title_full_unstemmed |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
title_sort |
กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41467 http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.28 |
_version_ |
1724629719660363776 |
spelling |
th-cuir.414672020-10-26T02:38:46Z กระบวนการสื่อสารในการบังคับใช้มาตรการเพื่อยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร Communication process in implementing the policy to terminate the use of beta-agonist along the swine feed chain ภาวดี ใจอ่อนน้อม ปาริชาต สถาปิตานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การสื่อสาร -- แง่สังคม เนื้อสุกร Communication -- Social aspects Pork วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากระบวนการสื่อสารในการขับเคลื่อนมาตรการยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกรไปสู่การบังคับใช้ ศึกษาปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนมาตรการยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร และศึกษาทัศนะของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีต่อแนวทางการบังคับใช้มาตรการให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ( Qualitative Research )เก็บข้อมูลด้วยการศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน 1. กระบวนการสื่อสารในการขับเคลื่อนมาตรการยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกรไปสู่การบังคับใช้ มีขั้นตอนการดำเนินมาตรการและการสื่อสาร 3 ระยะ คือ (1) ระยะเตรียมความพร้อมก่อนดำเนินมาตรการ (2) ระยะสื่อสารมาตร การสู่กลุ่มเป้าหมาย (3) ระยะดำเนินมาตรการ 2. ปัจจัยที่เอื้อต่อการขับเคลื่อนมาตรการยุติการผสมสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสุกร ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านการดำเนินงาน ได้แก่ การดำเนินการตรวจ จับกุม และลงโทษอย่างจริงจังและการประณามผู้กระทำความผิดอย่างเปิดเผยต่อสาธารณชน (2) ปัจจัยด้านผู้รับสาร ได้แก่ 2.1 ผู้บริโภคตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพและเลือกบริโภคมากขึ้นจนเกิดเป็นกระแสสังคม 2.2 คุณลักษณะของผู้ประกอบการฟาร์มสุกรในด้านต่างๆ ทั้ง การศึกษา ฐานะทางสังคม เศรษฐกิจ ทัศนคติ และด้านอื่นๆ (3) ปัจจัยด้านบุคคล 3.1 ความเข้มงวดและจริงจังของผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินมาตรการ 3.2 การมีเจ้าภาพหลักในการทำงาน 3.3 ความเข้าใจอย่างชัดเจนในจุดมุ่งหมายของการดำเนินมาตรการ 3.4 การตั้งหน่วยเฉพาะกิจเพื่อสนับสนุนเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ต่างๆให้สามารถดำเนินมาตรการได้อย่างเต็มที่ 3.5 การประสานความร่วมมือระหว่างพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ เอกชน และนักวิชาการ 3.6 การรวมนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อทำการสื่อสารไปในแนวทางเดียวกันโดยอาศัยพลังของนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อสร้างกระแสการรับรู้ต่อสังคม (4) ปัจจัยด้านสาร ได้แก่ 4.1 ข้อมูลในเชิงลบ 4.2 การให้ข้อมูลเกินจริง 4.3 การให้ข้อมูลแก่กลุ่มหนึ่งเพื่อกดดันอีกกลุ่มหนึ่ง 4.4 การให้ข้อมูลแก่ผู้เกี่ยวข้องหลายกลุ่มในวงกว้าง (5) ปัจจัยด้านช่องทางการสื่อสาร ได้แก่ 5.1 สื่อมวลชนให้ความร่วมมือนำเสนอข่าว 5.2 การใช้สื่อหลายชนิดผสมผสานกัน (6) บริบทแวดล้อมอื่นๆในขณะนั้น ได้แก่ 6.1 ทางเลือกและวิธีการอื่นๆเพื่อทดแทนการใช้สารเร่งเนื้อแดง 6.2 บริบทด้านเศรษฐกิจและการตลาด 3. ทัศนะของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีต่อแนวทางการบังคับใช้มาตรการให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน มีดังนี้ (1) ต้องให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค (2) ควรมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (3) ควรดำเนินการควบคู่ไปกับนโยบายอื่นๆของรัฐที่สนับสนุน (4) รักษากลไกและมาตรฐานการดำเนินงานอย่างต่อ เนื่องและจริงจังของรัฐ (5) ควบคุมให้เกิดความเสมอภาคกันเพื่อมิให้ได้หรือเสียเปรียบในทางด้านเศรษฐกิจ (6) ประสานความร่วมมือระหว่างพันธมิตร This research aims to study the communication process in implementing the policy to terminate the use of beta-agonist along the swine feed chain, to investigate the factors that facilitated the implementation of the policy, and to explore the methods to sustain the policy effectiveness. The key research method is conducting in-depth interviews with 30 key informants relevant to the policy; 9 were the officers from the Department of Livestock Development and the Swine Feeding Association of Thailand, 13 were the farm entrepreneurs as the major target groups under the policy and 8 were people involved in the policy in different aspects such farm managers, consumers, etc. The findings are as the followings : 1.Communication process in implementing the policy to terminate the use of beta-agonist along the swine feed chain composed of 3 steps (1) Preparation process before implementing the policy (2) Dissemination to the major target audiences (3) Implementation of the policy among the major target audiences 2.Six factors facilitate the implementation of the policy are (1) Operational factor including the continual execution, sharp penalty, and public announcement (2) Receiver factor including social influence by the consumers and the characteristics of the farm entrepreneur (3) Sender factor including continual and strict execution, official host, understanding of the officers, special execution team, coordination among the alliances, policy integration, support from the high authority officers, and the politicians (4) Message factor including negative approach, exaggeration, influential information, and general information (5) Channel factor including mass media, and integrated media (6) Context factor including substitution of beta-agonist, and economical situation. 3.The methods to sustain the policy effectiveness are (1) educate the consumers (2) continue the public relation (3) coordinately execute the policy with other related policies (4) strictly maintain the execution standard (5) reinforce the policy to all farm entrepreneurs without exception to prevent the economic disadvantages (6) keep relation and coordination with alliances 2014-03-19T10:54:35Z 2014-03-19T10:54:35Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41467 10.14457/CU.the.2006.28 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.28 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |