วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์

วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
Other Authors: ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41583
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.585
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.41583
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
author_facet ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
format Theses and Dissertations
author สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
spellingShingle สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
author_sort สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
title วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
title_short วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
title_full วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
title_fullStr วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
title_full_unstemmed วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
title_sort วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41583
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.585
_version_ 1724630238989647872
spelling th-cuir.415832020-10-26T08:31:20Z วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์ The speech act of admonishing in Thai : a case study of teachers and students สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาที่ครูใช้เพื่อตักเตือนศิษย์ในภาษาไทย ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้จากคำตอบในแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยสถานการณ์ ๙ สถานการณ์ ส่วนกลุ่มตัวอย่างเป็นครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอุดมศึกษาจำนวน ๑๕๐ คน จากหลากหลายสถาบัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างใช้กลวิธีทางภาษาในวัจนกรรมการตักเตือนทั้งหมด ๒๙ กลวิธี โดยเรียงลำดับตามค่าความถี่การปรากฏจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ๑.การอ้างกฎหรือสิ่งอื่นหรือบุคคลอื่นเพื่อแสดงว่าการกระทำนั้นไม่ถูกต้องไม่เหมาะสม ๒.การใช้ถ้อยคำลดน้ำหนักความรุนแรง ๓.การบอกว่าการกระทำนั้นไม่ดี ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ๔.การแสดงการถาม ๕.การบอกผลร้ายหรืออันตรายของการกระทำนั้น ๖.การเสนอแนะ ๗.การยกตัวอย่างเหตุการณ์ให้เป็นอุทาหรณ์ ๘.การแสดงความเป็นห่วง ๙.การกล่าวลงโทษ ๑๐.การสั่งให้เลิกหรือแก้ไขการกระทำนั้น ๑๑.การเล่าหรือถามถึงเรื่องอื่นเพื่อแสดงว่าการกระทำนั้นไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ๑๒.การขอร้องให้เลิกหรือแก้ไขการกระทำนั้น ๑๓.การแสดงความสงสัยหรือประหลาดใจ ๑๔.การแสดงความผิดหวังต่อการกระทำนั้น ๑๕.การใช้ถ้อยคำนัยผกผัน ๑๖. การโทษสิ่งอื่นหรือผู้อื่น ๑๗.การใช้สำนวน ๑๘.การใช้อุปลักษณ์ ๑๙.การใช้ถ้อยคำแสดงความไม่พอใจ ๒๐. การแสดงความไม่เห็นด้วยกับการกระทำนั้น ๒๑.การแสดงว่าไม่ชอบการกระทำนั้น ๒๒.การแสดงการชม ๒๓.การให้โอกาสเลิกหรือแก้ไขการกระทำเดิม ๒๔.การปลอบผู้ฟัง ๒๕.การเสนอความช่วยเหลือ ๒๖.การแสดงความสงสารหรือเห็นใจ ๒๗.การแสดงความตระหนักในสิทธิของผู้ฟัง ๒๘.การแสดงความคาดหวังต่อผู้ฟัง และ ๒๙.การพูดตลก เมื่อวิเคราะห์กลวิธีทางภาษาทั้ง ๒๙ กลวิธีข้างต้นตามวัตถุประสงค์ในการสื่อสารพบว่า นอกจากกลุ่มตัวอย่างจะใช้กลวิธีทางภาษาเพื่อวัตถุประสงค์ในการตักเตือนแล้ว กลุ่มตัวอย่างยังเลือกใช้กลวิธีทางภาษาเหล่านั้นเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ โดยเรียงลำดับค่าความถี่จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ๑. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อรักษาหน้าของผู้ฟัง ๒. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อรักษาหน้าของผู้พูด(เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่พอใจจากผู้ฟัง) ๓. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อโน้มน้าวให้ผู้ฟังเชื่อถือหรือคล้อยตามวัจนกรรมการตักเตือน ๔. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อให้ผู้ฟังเห็นภาพอย่างเป็นรูปธรรม ๕. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อประชดประชัน และ ๖. กลวิธีทางภาษาที่ใช้เพื่อลดความตึงเครียดในการสนทนา นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษาที่ปรากฏในวัจนกรรมการตักเตือนกับสถานการณ์การกระทำผิดพบว่า สถานการณ์การกระทำผิดมีผลต่อการเลือกใช้กลวิธีตรงหรือกลวิธีความสุภาพของกลุ่มตัวอย่าง และจากผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าครูส่วนใหญ่คำนึงถึงความสุภาพในการแสดงวัจนกรรมการตักเตือน โดยเลือกใช้กลวิธีความสุภาพทั้งด้านลบและบวก ตัวอย่างกลวิธีความสุภาพด้านลบที่พบมาก ได้แก่ การใช้ถ้อยคำลดน้ำหนักความรุนแรง และการแสดงการถาม ส่วนกลวิธีความสุภาพด้านบวกที่พบมาก ได้แก่ การบอกผลร้ายหรืออันตรายของการกระทำนั้นเพื่อแสดงความหวังดี และการแสดงความเป็นห่วง ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่าการสื่อสารในภาษาไทยให้ความสำคัญกับความสุภาพทั้ง ๒ ด้าน The aim of this research is to examin the linguistic strategies used by Thai teachers in the speech act of admonishing. The data is elicited by means of a questionnaire which includes 9 situations. The respondents are 150 teachers from various secondary schools and university in Bangkok and Prachuap Khiri Khan areas. It is found that Thai teachers adopt 29 linguistic strategies in the act of admonishing. Those strategies (arranged by maximum frequency to minimum frequency) include - 1. referring to rules or the authorities. 2.adopting the strategies of hedging. 3. stating directly that what the hearer has done is wrong. 4. questioning. 5.pointing out the harmful effects of wrong-doing. 6. giving advices. 7. providing examples. 8. expressing concern. 9. stating the hearer will be punished. 10. ordering to stop the wrong-doing. 11. giving a hint . 12. requesting to stop the wrong-doing. 13. expressing doubtfulness. 14. expressing dissappointment. 15. using verbal irony. 16. blaming others. 17. using idioms. 18. using metaphor. 19. complaining. 20. showing dissagreement. 21.dispraising. 22. praising. 23. giving an opportunity to correct the wrong-doing. 24. consoling. 25. offering help. 26. expressing sympathy. 27. realizing the hearers’ privacy. 28. showing expectation. and 29. joking. In terms of communicative functions, the 29 strategies adopted by the teachers help achieve not only the main purpose - -to admonish - - but also other functions. Those functions are- 1. to be polite to the hearer. 2. to be self- polite. 3. to persuade. 4. to be concrete. 5. to be sarcastic. and 6. to provoke humor. The present study also examines the relation between the situations and strategy selection. It is found that the respondents adopted different strategies in different situations. However, in most of the cases, the respondents appear to concern about politeness. The finding shows that both negative politeness strategies and positive politeness strategies are exploited by the Thai respondents. The negative politeness strategies preferred by the respondents are using hedges and questioning. On the other hand, the positive ones adopted often are stating the effects that might harm the hearer and to express concern. The findings in the present study indicate that both negative and positive politeness are of equal importance in the Thai culture. 2014-03-23T03:59:58Z 2014-03-23T03:59:58Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41583 10.14457/CU.the.2006.585 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.585 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย