Japan and human security : Gaps of realities

Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Hereditary Baron Otto von Feigenblatt
Other Authors: Chaiwat Khamchoo
Format: Theses and Dissertations
Language:English
Published: Chulalongkorn University 2014
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41761
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: English
id th-cuir.41761
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language English
description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007
author2 Chaiwat Khamchoo
author_facet Chaiwat Khamchoo
Hereditary Baron Otto von Feigenblatt
format Theses and Dissertations
author Hereditary Baron Otto von Feigenblatt
spellingShingle Hereditary Baron Otto von Feigenblatt
Japan and human security : Gaps of realities
author_sort Hereditary Baron Otto von Feigenblatt
title Japan and human security : Gaps of realities
title_short Japan and human security : Gaps of realities
title_full Japan and human security : Gaps of realities
title_fullStr Japan and human security : Gaps of realities
title_full_unstemmed Japan and human security : Gaps of realities
title_sort japan and human security : gaps of realities
publisher Chulalongkorn University
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41761
_version_ 1681408972335087616
spelling th-cuir.417612016-06-28T14:32:49Z Japan and human security : Gaps of realities ญี่ปุ่นกับความมั่นคงมนุษย์ : ช่องว่างของความเป็นจริง Hereditary Baron Otto von Feigenblatt Chaiwat Khamchoo Chulalongkorn University. Faculty of Political Science Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007 Japan’s foreign policy is often described as abnormal and opportunistic due to its perceived deviation from the norm established by the ruling international relations paradigm, neo-realism. This study concentrates on one policy field of great international visibility, official development assistance. Japan’s official ODA policy is taken as a representative example of its foreign policy and serves to test the impact of the rising Human Security Paradigm. This innovative paradigm has been adopted by Japan as a pillar of its foreign policy and its language is widely used in official policy documents. Due to this a discursive analysis was undertaken so as to determine the impact of the Human Security approach on Japan’s Official ODA policy and consequently identify Japan’s official position regarding this approach. This dissertation then tests Japan’s actual ODA projects planned and implemented by the Japan International Cooperation Agency and the United Nations Fund for Human Security in order to determine whether there is a gap between Japan’s version of the Human Security approach and its actual policies regarding ODA. This test is not concerned with the actual results of the projects in question or with their impact on their target beneficiaries but rather with the level of coherence and consistency of Official ODA policy discourse and actual project implementation. Three main results were revealed. Regarding Japan’s official position of the concept of Human Security, its position closely resembles that of the United Nations Commission for Human Security which favors a balanced view of the paradigm tackling both “freedom from fear” and “freedom from want”. This approach allots equal emphasis to protection as to long term empowerment and favors a concerted effort by all major stakeholders. In summary this view lies between the Protective Human Security of some “middle powers” such as Canada and Australia and the United Nations High Commission for Refugees and the developmental Human Security of most radical non-governmental organizations and the United Nations Development Program. The second result is regarding the impact of the Human Security paradigm in Official ODA discourse. It is clear from the detailed discursive analysis undertaken that Human Security has permeated this policy area. Finally the third result deals with discursive co-optation and the forces behind the efforts to mainstream Human Security. This dissertation shows how conservative neo-realist stakeholders in Japan have identified common instrumental security goals with those of Human Security and have co-opted the use of the language of Human Security in order to further the ultimate goal of the “normalization” of Japan in a neo-realist fashion. นโยบายการต่างประเทศของญี่ปุ่นมักจะถูกมองว่าเป็นการฉวยโอกาสและผิดจากหลักสากลอันเนื่องมาจากการใช้นโยบายที่ต่างมุมออกไปจากหลักสากลที่ก่อตั้งโดยกฎเกณฑ์ตัวอย่างการสาธิตความร่วมมือระหว่างประเทศตามนิยามของลัทธิความเป็นจริง (Neo-realism) วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์มุ่งเน้นที่การศึกษานโยบายเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ของการต่างประเทศ และการช่วยเหลือการพัฒนาอย่างเป็นทางการ นโยบายการช่วยเหลือพัฒนาอย่างเป็นทางการของประเทศญี่ปุ่น(ODA) ถูกยกขึ้นเปรียบเสมือนตัวแทนของตัวอย่างนโยบายการต่างประเทศ และเป็นตัวทดสอบอิทธิพลของตัวอย่างความมั่นคงของมนุษย์ที่กำลังเป็นนโยบายที่น่าจับตามอง การสาธิตการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่นโดยการนำนโยบายความมั่นคงของมนุษย์มาใช้เป็นเสาหลักของนโยบายการต่างประเทศและนโยบายอื่นๆในประเทศญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการดำเนินการอภิปรายวิเคราะห์เพื่อที่จะประเมินอิทธิพลของความมั่นคงของมนุษย์ที่มีต่อนโยบายการช่วยเหลือพัฒนาอย่างเป็นทางการของประเทศญี่ปุ่น(ODA) และเพื่อที่จะระบุสถานภาพของประเทศญี่ปุ่นในฐานะของผู้ถือนโยบายนี้ ความเคลื่อนไหวนี้ถือว่าเป็นการทดสอบโครงการการช่วยเหลือการพัฒนาอย่างเป็นทางการของประเทศญี่ปุ่นที่จัดตั้งขึ้นและดำเนินการโดยหน่วยงานทางด้านความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น(Japan International Cooperation Agency) และกองทุนองการณ์สหประชาชาติเพื่อความมั่นคงของมนุษย์ (United Nations fund for Human Security) เพื่อที่จะตัดสินข้อเท็จจริงว่ามีช่องโหว่ระหว่างความเคลื่อนไหวของความมั่นคงของมนุษย์ตามแบบฉบับของประเทศญี่ปุ่น กับนโยบายความมั่นคงของมนุษย์ที่ร่างขึ้นอย่างแท้จริงโดยนโยบายช่วยเหลือการพัฒนา (ODA) หรือไม่ การตรวจสอบนี้มิได้มุ่งเน้นที่ประเด็นของผลลัพธ์ของโครงการหรือการมีอิทธิพลของผู้ได้รับผลประโยชน์ แต่เป็นการมุ่งเน้นที่ประเด็นของระดับของความสอดคล้องกับนโยบายช่วยเหลือการพัฒนา (ODA) และการดำเนินการของโครงการ ผลลัพธ์สามประการได้ถูกเปิดเผยขึ้น ประการแรกกล่าวถึงสถานภาพอย่างเป็นทางการของประเทศญี่ปุ่นเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องของความมั่นคงของมนุษย์ที่ใกล้เคียงกับหน่วยงานองค์การสหประชาชาติเพื่อความมั่นคงของมนุษย์ (United Nations Commission for Human Security) ซึ่งสนับสนุนมุมมองที่สมดุลของตัวอย่างการสาธิตที่มีการควบคู่ทั้ง อิสรภาพจากความกลัว (Freedom from Fear) และ อิสรภาพจากความต้องการ (Freedom from Want) ความเคลื่อนไหวนี้ถือเป็นการให้ความสำคัญที่เท่าเทียมกันระหว่างการป้องกันเพื่อการมอบอำนาจในระยะยาว และการสนับสนุนเพื่อที่ความตกลงร่วมกันของผู้ถือนโยบายนี้ โดยสรุปแล้ว วิสัยทัศน์นี้ตั้งอยู่ระหว่างนโยบายความมั่นคงของมนุษย์ในประเทศที่มีอำนาจกึ่งกลาง เช่น ประเทศแคนาดา ประเทศออสเครเลีย และผู้ตรวจการสูงสุดเพื่อผู้อพยพลี้ภัยขององค์การสหประชาชาติ (United Nations High Commission for Refugees) และการพัฒนาของนโยบายความมั่นคงของมนุษย์ในหน่วยงานรากฐานที่ไม่ขึ้นตรงต่อรัฐบาล และ ระบบการพัฒนาขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Development Program) ประเด็นที่สองเกี่ยวข้องกับอิทธิพลของตัวอย่างการสาธิตของความมั่นคงของมนุษย์ในการอภิปรายของหน่วยงานให้ความช่วยเหลือการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (ODA) ซึ่งเห็นได้ชัดจากการวิเคราะห์การอภิปรายว่าความมั่นคงของมนุษย์ได้แทรกซึมไปกับนโยบายนี้ ประเด็นที่สามเกี่ยวข้องกับการอภิปรายในเรื่องของการเข้าร่วมเป็นสมาชิกและอำนาจภายใต้กระแสหลักของความมั่นคงของมนุษย์ วิทยานิพนธ์นี้แสดงให้เห็นถึงวิธีการที่ผู้ถือนโยบายที่มีวิสัยทัศน์นิยมลัทธิความเป็นจริง(Neo-realism) ในประเทศญี่ปุ่นทำการประยุกต์ใช้เป้าหมายที่ส่อถึงความมั่นคงโดยทั่วไปกับเป้าหมายของความมั่นคงของมนุษย์ และได้ผสมผสานคำจำกัดความของความมั่นคงของมนุษย์เพื่อที่จะขยายเป้าหมายขั้นสุดท้ายคือ การทำให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นมาตรฐานตามแบบฉบับของลัทธินิยมความจริง (Neo-realist) 2014-03-23T06:39:04Z 2014-03-23T06:39:04Z 2007 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41761 en Chulalongkorn University application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf Chulalongkorn University