เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม

วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สมศักดิ์ ชลาชล
Other Authors: ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41781
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.41781
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
author_facet ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
สมศักดิ์ ชลาชล
format Theses and Dissertations
author สมศักดิ์ ชลาชล
spellingShingle สมศักดิ์ ชลาชล
เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
author_sort สมศักดิ์ ชลาชล
title เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
title_short เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
title_full เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
title_fullStr เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
title_full_unstemmed เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
title_sort เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41781
_version_ 1724629804220678144
spelling th-cuir.417812018-10-16T03:09:59Z เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจทำผม Political Economy of the Hair Design Business สมศักดิ์ ชลาชล ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ สุรพล วิรุฬห์รักษ์ วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาประวัติธุรกิจทำผมจากอดีตถึงปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษานโยบายของรัฐที่มีผลกระทบต่อธุรกิจทำผม และ 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดตั้งสภาช่างผมไทย ระเบียบวิธีการวิจัย เป็นการศึกษาโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) เกี่ยวกับสถาบันและองค์การที่มีบทบาทในธุรกิจทำผมในประเทศไทย ซึ่งได้อาศัยกรอบความคิดจากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองของ Joseph Schumpeter จากนั้นศึกษาผลกระทบที่มีต่อธุรกิจทำผม พฤติกรรมการทำผม และแนวทางในจัดตั้งสภาช่างผมไทย จากการศึกษาประวัติความเป็นมาของอาชีพช่างตัดผม ทำให้ทราบว่าอาชีพช่างตัดผมในสมัยก่อนมิได้มีร้านตัดผมอย่างในปัจจุบัน แต่มีการถืออุปกรณ์การตัดผมเดินางไปตามสถานที่ต่างๆ จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มมีร้านตัดผมของคนไทยเกิดขึ้น จากนั้นเริ่มมีการจัดตั้งโรงเรียนและสถาบันเพื่อสอนอาชีพตัดผมให้คนทั่วไปอย่างแพร่หลาย วิวัฒนาการของช่างตัดผมกลายเป็นร้านตัดผมที่เป็นธุรกิจทำผม จากกรณีศึกษาร้านชลาชล ได้นำนวัตกรรมทางความคิดมาใช้ในการพัฒนาธุรกิจทำผม และส่งเสริมให้ธุรกิจทำผมเจริญก้าวหน้าได้เป็นอย่างดี จากการวิจัยพบว่า ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการส่งเสริมให้อาชีพช่างตัดผมเป็นอาชีพสงวนของคนไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2481 จนถึง พ.ศ. 2542 รัฐจึงยุติคุ้มครองให้เป็นอาชีพสงวน เนื่องจาก มีการเปิดโอกาสให้บุคคลต่างด้าวหรือนิติบุคคลต่างด้าวสามารถประกอบธุรกิจทุกประเภทที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายร่างพระราชบัญญัติ ด้วยการยื่นคำขออนุญาตจากรัฐมนตรีหรืออธิบดี ทั้งนี้เป็นไปตามความกดดันของ IMF ที่ต้องการให้ไทยเปิดเสรีทางการค้าในเกือบทุกด้าน ช่างตัดผมในประเทศไทยควรได้รับใบรับรองที่เป็นมาตรฐานสากลในการประกอบอาชีพ เพื่อเป็นการยกระดับอาชีพช่างตัดผม ซึ่งในการออกใบรับรองมาตรฐานควรได้รับการสนับสนุนจากกรัฐบาลเพื่อคุ้มครองช่างตัดผมที่เคยเป็นอาชีพสงวนให้ยังเป็นอาชีพสำหรับคนไทยต่อไป และยังสามารถผลิตบุคลากรให้เป็นอาชีพบริการที่มีคุณภาพ จึงเห็นควรเสนอแนวทางจัดตั้งสภาช่งผมเพื่อยกระดับและคุ้มครองวิชาช่างผมให้คงอยู่ต่อไป The objectives of this research are as follows: 1. to study the history of hairdressing business from the past until present, 2. to study the policy of government that effect to hairdressing business and 3. to study the trend for setting up Thai Hairdresser Council. The Regulation of research is "Descriptive Analysis" Method to study institutes and organizations that have a role of hairdressing business in Thialand which getting the concept from the political economy theory of Joseph Schumpeter and then to study the effects of hairdressing business. hairdressing behavior and the trend to establish the Thai Hairdresser Council. From studying the background of occupation of hairdresser, it is found there was no barber's shop like nowadays, the hairdresser took their equipments to travel to different places. Until the reign of King Rama V, Thai barbershop was started. Then the schools and the institutes for haircut teaching were extensively set up in public. The evolution of hairdresser is become to a business barbershop. From the case study, Chalachol's salon applies the thinking innovation to develop hairdressing business and promote this business to progress well. The result of studing makes us found that in the period of government of Field Marshal P. Phiboonsongkram, the occupation of hairdresser is encouraged and protected to be a reserved occupation for Thais since B.E. 2481. Until B.E. 2542, the government promulgated the ACT which did not reserve this occupation for Thai anymore. Because the alien or the juristic alien can have a chance to run any kind of business that is specified in the list of the ACT by submitting their request of permit to the minister or to the department director. All is in line with the pressure of IMF that needs Thai to be the free trade area for almost kind of business. Hairdresser in Thailand should receive the international standard certificate in earning a living as a hairdresser for improving the hairdresser occupation. This standard certificate should be supported and issued by the government for protecting this occupation to be the reserved occupatin for Thai again. And this method also can produce the good quality hairdresser for service occupation. So we should present the trend to establish tha Hairdresser Council improving and protecting this occupation to be remained. 2014-03-23T06:45:30Z 2014-03-23T06:45:30Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41781 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย