ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42119 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.713 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.42119 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ธนาคารไทยพาณิชย์ เคหะ -- การเงิน อุทกภัย -- ไทย -- กรุงเทพฯ เงินกู้ธนาคาร Siam Commercial Bank Housing -- Finance Floods -- Thailand -- Bangkok Bank loans |
spellingShingle |
ธนาคารไทยพาณิชย์ เคหะ -- การเงิน อุทกภัย -- ไทย -- กรุงเทพฯ เงินกู้ธนาคาร Siam Commercial Bank Housing -- Finance Floods -- Thailand -- Bangkok Bank loans อรุณี บุญเกิด ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
description |
วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
author2 |
ไตรรัตน์ จารุทัศน์ |
author_facet |
ไตรรัตน์ จารุทัศน์ อรุณี บุญเกิด |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อรุณี บุญเกิด |
author_sort |
อรุณี บุญเกิด |
title |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
title_short |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
title_full |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
title_fullStr |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
title_full_unstemmed |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
title_sort |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42119 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.713 |
_version_ |
1724629944036753408 |
spelling |
th-cuir.421192019-09-11T08:16:03Z ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) A case study on the impact of housing loans after the floods of 2011 on holders of mortgages of the Siam Commercial Bank Public Company Limited อรุณี บุญเกิด ไตรรัตน์ จารุทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ธนาคารไทยพาณิชย์ เคหะ -- การเงิน อุทกภัย -- ไทย -- กรุงเทพฯ เงินกู้ธนาคาร Siam Commercial Bank Housing -- Finance Floods -- Thailand -- Bangkok Bank loans วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 การวิจัยเรื่อง ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม กรณีศีกษา : ลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) เป็นการศึกษาข้อมูลลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยรายเก่าของธนาคารไทยพาณิชย์ที่อยู่ในเขตอุทกภัยใน ปี 2554 รวมถึงศึกษาสาเหตุของผลกระทบทางรายได้หลังน้ำท่วม เพื่อหามาตรการทางการเงินที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่ม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1) ลูกค้ารายเก่า 21,220 ราย ที่อยู่ในเขตจังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม และขอรับมาตรการทางการเงินกับธนาคาร กลุ่มที่ 2) คือกลุ่มลูกค้ารายเก่าที่ปัจจุบันยังใช้สินเชื่อที่อยู่อาศัยกับธนาคาร 500 ราย กลุ่มที่ 3) สัมภาษณ์ผู้บริหารของธนาคารไทยพาณิชย์ กลุ่มที่ 4 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านสินเชื่อเคหะ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1) พบว่าลูกค้าที่ขอรับมาตรการส่วนใหญ่มีที่อยู่อาศัยในจังหวัดปทุมธานีมากที่สุด และเป็นหลักประกันประเภทบ้านเดี่ยวโดยร้อยละ 66 เป็นกลุ่มลูกค้าที่ประกอบธุรกิจส่วนตัวซึ่งได้รับผลกระทบจากยอดขายที่ลดลง กลุ่มที่ 2) พบว่าร้อยละ 42 ได้รับผลกระทบทางรายได้ที่ลดลง เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและนำเงินไปซ่อมแซมบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่การซ่อมแซมนั้นก็เพื่ออยู่อาศัยต่อ และยังไม่มีความคิดที่จะย้ายบ้าน สำหรับมาตรการทางการเงินที่ลูกค้าต้องการ คือ ลดอัตราดอกเบี้ยและปรับลดอัตราผ่อนชำระ กลุ่มที่3)ผู้บริหารของธนาคารไทยพาณิชย์พบว่า เริ่มมีสัญญานของลูกค้าที่ได้รับผลกระทบหลังน้ำท่วม โดยลูกหนี้ที่มีปัญหาในกลุ่มที่มีรายได้ประจำมีค่าใช้จ่ายเนื่องจากต้องซ่อมแซมบ้านจึงต้องการปรับลดอัตราผ่อน หรือชำระเฉพาะดอกเบี้ย สำหรับกลุ่มธุรกิจส่วนตัวต้องการพักชำระหนี้กับธนาคารต่อเนื่องจากรายได้ขาดหายเพราะลูกค้าประจำลดลง ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกผ่อนชำระเฉพาะดอกเบี้ย หรือชำระดอกเบี้ยบางส่วน และกลุ่มที่ 4) ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะให้ธนาคารพาณิชย์มีการหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับมาตรการในการผ่อนปรนเงื่อนไขในการแบ่งผ่อนชำระดอกเบี้ยคงค้างโดยใช้มาตรการในการขยายระยะเวลาผ่อนชำระหนี้ แต่ยังคงให้ลูกหนี้ผ่อนเท่าเดิมเพื่อลดภาระ นอกจากนี้ มาตรการของธนาคารพาณิชย์ในการลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อต่ำ อาจทำได้ยากเมื่อเทียบกับธนาคารเฉพาะกิจของรัฐ โดยสรุปคือ มาตรการทางการเงินที่ลูกค้าสนใจ คือ ลดดอกเบี้ย ในขณะที่ธนาคารมีเพียงแค่ 2 มาตรการซึ่งเสนอให้เลือกพักชำระหนี้ หรือให้กู้เพิ่มเติมอาจไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้า และกรณีที่ใช้มาตรการพักชำระหนี้แต่เมื่อครบกำหนดลูกหนี้ต้องผ่อนค่างวดเพิ่มขึ้นทั้งค่างวดปกติ และดอกเบี้ยที่มีการค้างชำระจะทำให้ลูกหนี้มีปัญหาในอนาคต ในส่วนของปัจจัยรายได้มีความสัมพันธ์กันกับค่าใช้จ่ายซ่อมแซมบ้าน กรณีลูกค้าที่มีรายได้สูงค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมจะสูงไปในทางเดียวกัน และปัจจัยด้านอาชีพมีความสัมพันธ์กันกับมาตรการทางการเงินที่ลูกค้าสนใจ โดยอาชีพที่มีรายได้น้อย หรือรายได้ไม่แน่นอน เช่น ประกอบธุรกิจส่วนตัว, รับราชการ จะขอรับมาตรการกับธนาคารสูงตามไปด้วย โดยผู้วิจัยเสนอให้ธนาคารแบ่งมาตรการทางการเงินเป็น 3 ช่วงระยะเวลา คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยแต่ละช่วงเวลาควรมีมาตรการที่ต่างกันตามผลกระทบของลูกหนี้ นอกจากนี้แต่ละมาตรการจะมีความสัมพันธ์กันกับอายุของผู้กู้ และช่วงเวลาการผ่อนชำระคืนเงินกู้ เนื่องจากมีผลต่อการขยายระยะเวลาการผ่อนชำระในอนาคต The aim of this research was to conduct a case study on the impact of housing loans after the floods of 2011, on holders of loans from the Siam Commercial Bank Public Company Limited in flood areas and to study the impact on incomes after the floods and find appropriate financial measures for each group. The participants in the study were divided into four groups: group 1) 21,220 former mortgage holders in the provinces affected by the floods who obtained financial assistance from the bank; group 2) 500 current mortgage holders; group 3) management personnel of the Siam Commercial Bank; group 4) housing loan experts. The results of the study are as follows. In group 1, the majority of mortgage clients who obtained financial assistance from the bank were located in Pathum thani and lived in single detached houses. In addition, 66 percent were self-employed and experienced reduced sales in their businesses. In group 2, 42 percent experienced a decline in revenue due to increased expenses and needed money to repair their houses as they had no alternative place to live. Most of these cases also required financial measures to help offset interest on their debt and monthly mortgage payments. Interviews with management personnel in group 3 showed that contracts with clients affected by floods who were debtors with salary incomes needed assistance to pay for home repairs and to reduce the rate of interest on their loan or needed to pay only the interest but not the principal. Clients who were self-employed requested to pay only interest or make partial payments due to loss of revenue from reduced business. The housing loan experts in group 4 suggested that banks discuss with the Bank of Thailand measures to ease conditions for the accrued interest payments divided by the standard rate of payment and to extend the repayment period of the debt affected clients. However, debtors would still have to pay the same debt burden. In addition, it may be more difficult for commercial banks to introduce measures to reduce interest rates when compared with government banks. In summary, clients with loans were most interested in assistance to reduce the rate of interest they must pay while the bank had only two options to offer them which were a moratorium on payments or a loan to pay for house repairs which may not meet the needs of these clients. If the moratorium on payments was granted, the debtor would have to pay higher monthly payments later to avoid problems in the future. Also, level of income was a factor related to the cost of repairs to the house such that high income clients would normally have higher repair costs. Occupation was also a factor associated with financial measures clients were interested in. Those in low income professions or those with private businesses with low monthly incomes and income uncertainty, and government workers needed high levels of assistance from the banks. This research proposes to break financial assistance measures offered by the commercial bank into three periods which are short, medium and long-term with appropriate measures for each period according to the needs of clients. In addition, financial assistance measures should be correlated with the age of the borrower including the repayment period of the loan. 2014-04-04T04:42:58Z 2014-04-04T04:42:58Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42119 10.14457/CU.the.2012.713 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.713 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ไทย กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |