ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล
Other Authors: สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42183
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.720
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.42183
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กระเจี๊ยบ -- การใช้รักษา
หญ้าหวาน -- การใช้รักษา
ระบบหัวใจและหลอดเลือด -- โรค -- ปัจจัยเสี่ยง
เบาหวานชนิดที่ 2 -- ผู้ป่วย
ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย
Roselle -- Therapeutic use
Stevia -- Therapeutic use
Cardiovascular system -- Diseases -- Risk factors
Non-insulin-dependent diabetes -- Patients
Hypertension -- Patients
spellingShingle กระเจี๊ยบ -- การใช้รักษา
หญ้าหวาน -- การใช้รักษา
ระบบหัวใจและหลอดเลือด -- โรค -- ปัจจัยเสี่ยง
เบาหวานชนิดที่ 2 -- ผู้ป่วย
ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย
Roselle -- Therapeutic use
Stevia -- Therapeutic use
Cardiovascular system -- Diseases -- Risk factors
Non-insulin-dependent diabetes -- Patients
Hypertension -- Patients
กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล
ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
author_facet สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล
format Theses and Dissertations
author กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล
author_sort กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล
title ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_short ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_full ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_fullStr ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_full_unstemmed ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_sort ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2014
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42183
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.720
_version_ 1724630065309810688
spelling th-cuir.421832019-09-11T08:16:35Z ผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานต่อปัจจัยเสี่ยงรวมของโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ The effect of roselle and stevia on global cardiovascular risk factor in type 2 diabetes mellitus and hypertensive patients at King Chulalongkorn Memorial Hospital กิตติพงศ์ วิรัตนพรกุล สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ ไพโรจน์ ฉัตรานุกูลชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ กระเจี๊ยบ -- การใช้รักษา หญ้าหวาน -- การใช้รักษา ระบบหัวใจและหลอดเลือด -- โรค -- ปัจจัยเสี่ยง เบาหวานชนิดที่ 2 -- ผู้ป่วย ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย Roselle -- Therapeutic use Stevia -- Therapeutic use Cardiovascular system -- Diseases -- Risk factors Non-insulin-dependent diabetes -- Patients Hypertension -- Patients วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 ความสำคัญและที่มาของปัญหาวิจัย : การประเมินความเสี่ยงรวมโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วย Rama-EGAT heart score เป็นวิธีหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนป้องกันและการรักษา เพื่อลดโอกาสเกิดปัญหาทางโรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจตามมาในประชากรไทย การดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานมีข้อมูลว่าสามารถช่วยลดระดับความดันโลหิตและมีแนวโน้มลดปัจจัยเสี่ยงของภาวะอ้วนลงพุงได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของการดื่มน้ำกระเจี๊ยบหญ้าหวานต่อการลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยประเมินจาก Rama-EGAT heart score ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูงร่วมด้วยในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิธีวิจัย : เป็นการวิจัยแบบ Randomized Controlled trial ผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึง ตุลาคม พ.ศ. 2555 ที่ยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยจะถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งจะได้ดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานในน้ำอุ่น 240 มิลลิลิตร เช้า-เย็นระหว่างมื้ออาหาร กลุ่มที่สองดื่มน้ำอุ่น 240 มิลลิลิตร เช้า-เย็นระหว่างมื้ออาหาร เป็นเวลา 60 วันโดยผู้ป่วยจะได้รับการตรวจวัดระดับความดันโลหิตอัตโนมัติที่บ้าน วันละ 2 ครั้งเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และตรวจวัดระดับไขมันในเลือด ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด ค่าการทำงานของไต ค่าเอนไซม์ตับ ขนาดของเส้นรอบเอว และประเมินความเสี่ยงโดย Rama-EGAT heart score ทั้งก่อนและหลัง ผลการวิจัย : จากผู้ร่วมวิจัย 20 คน ผลการวิจัยในกลุ่มที่ดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานประเมินความเสี่ยงจาก Rama-EGAT heart score ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการวิจัยเท่ากับ 33.27 ± 7.74 % และ 32.93 ± 7.85 %ตามลำดับ ส่วนกลุ่มดื่มน้ำอุ่นประเมินความเสี่ยงจาก Rama-EGAT heart score ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการวิจัยเท่ากับ 33.89 ± 11.58 %และ 34.06 ± 10.60 %ตามลำดับ การเปลี่ยนแปลงของ Rama-EGAT heart score ระหว่างสองกลุ่มนั้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.61) ไม่พบความแตกต่างระหว่างระดับน้ำตาล ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และระดับไขมันในเลือด พบการลดลงของความดันซิสโตลิกในกลุ่มที่ดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานมากกว่ากลุ่มที่ดื่มน้ำอุ่นซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยความดันโลหิตก่อนและหลังในกลุ่มที่ดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานเท่ากับ 141.51 ± 3.07 มิลลิเมตรปรอท และ 137.27 ± 2.93 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ ส่วนกลุ่มที่ดื่มน้ำอุ่นเท่ากับ 139.85 ± 2.46 มิลลิเมตรปรอท และ 140.08 ± 1.85 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ (p<0.001) แต่ไม่พบความแตกต่างของความดันไดแอสโตลิก (p=0.11) สรุป : ในการศึกษานี้การดื่มน้ำกระเจี๊ยบและหญ้าหวานอาจไม่มีผลต่อการลด Rama-EGAT heart score ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีความดันโลหิตสูงร่วมด้วย Background : Global cardiovascular risk assessment with Rama-EGAT heart score is useful method for prevention and treatment of cardiovascular disease. Recent data have shown that Roselle and Stevia effect may help lower blood pressure and potentially decreased the risk of metabolic syndrome in diabetes and hypertensive patients. Objectives : To determine effect of Roselle and Stevia to reduce global cardiovascular risk using by Rama-EGAT heart score in type 2 diabetes mellitus and hypertensive patients at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Methods : The randomized controlled trial study was conducted in KCMH during June 2012 and October 2012. After informed consents, the patients were randomly allocated to 240 ml of Roselle and Stevia drinking group or hot water drinking group twice a day for 2 months. Their blood pressure were measured by self blood pressure monitoring twice a day. Rama-EGAT heart score, fasting plasma glucose, glycosylated hemoglobin (HbA1C), lipid levels, renal and liver function were also collected before and after the interventions. Results : Of the 20 patients, the mean Rama-EGAT heart score in Roselle and Stevia group was 33.27 ± 7.74% at baseline and 32.93 ± 7.85% after 2 months, whereas in the drinking water group was 33.89 ± 11.58% at baseline and 34.06 ± 10.60 %. There were no statistically significant difference on Rama-EGAT heart score (p = 0.61), fasting plasma glucose, glycosylated hemoglobin (HbA1C) and lipid levels in between groups. There was statistically significant difference on reduction of systolic blood pressure in the Roselle and Stevia group, the mean of systolic blood pressure in the Roselle and Stevia group was 141.51 ± 3.07 mmHg at baseline and 137.27 ± 2.93 mmHg after 2 months, whereas in the drinking water group was 139.85 ± 2.46 mmHg at baseline and 140.08 ± 1.85 mmHg (p<0.001). Conclusion : In this small trial, Roselle and Stevia may not reduce Rama-EGAT heart score in type 2 diabetes mellitus and hypertensive patients at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The large randomized controlled trial is needed to elucidate the effect of these two herbs on cardiovascular risks. 2014-04-17T07:00:13Z 2014-04-17T07:00:13Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42183 10.14457/CU.the.2012.720 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.720 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย