ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุภัชญา ดีมีชัย
Other Authors: ไพเราะ ปิ่นพานิชการ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4219
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.4219
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กรดไฮยาลูโรนิค
การหมัก
สเตรปโตคอคคัส
spellingShingle กรดไฮยาลูโรนิค
การหมัก
สเตรปโตคอคคัส
สุภัชญา ดีมีชัย
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 ไพเราะ ปิ่นพานิชการ
author_facet ไพเราะ ปิ่นพานิชการ
สุภัชญา ดีมีชัย
format Theses and Dissertations
author สุภัชญา ดีมีชัย
author_sort สุภัชญา ดีมีชัย
title ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
title_short ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
title_full ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
title_fullStr ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7
title_sort ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย streptococcus zooepidemicus un-7
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4219
_version_ 1681412098945449984
spelling th-cuir.42192008-05-06T10:10:18Z ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7 Factors affecting hyaluronic acid production by Streptococcus zooepidemicus UN-7 สุภัชญา ดีมีชัย ไพเราะ ปิ่นพานิชการ นลิน นิลอุบล วาสนา โตเลี้ยง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ กรดไฮยาลูโรนิค การหมัก สเตรปโตคอคคัส วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดไฮยาลูโรนิกโดย Streptococcus zooepidemicus UN-7 ปัจจัยที่ศึกษาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือ อิออนโลหะที่มีประจุ 2[superscript +] และกลุ่มที่สองคือ สารตั้งต้นหรือสารมัธยันตร์ในวิถีการสังเคราะห์กรดไฮยาลูโรนิก ผลการศึกษาในระดับขวดเขย่าพบว่า เชื้อผลิตกรดไฮยาลูโรนิกในการทดลองชุดควบคุม ประมาณ 620-700 มก. ต่อลิตร เมื่อเสริมปัจจัยเหล่านั้นแบบเดี่ยวพบว่า ปัจจัยที่เพิ่มผลผลิตในเกณฑ์สูงสุดคือ MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O (10 มก. ต่อลิตร) ให้ผลผลิตประมาณ 880 มก. ต่อลิตร ขณะที่กลูตามีน (125 มก. ต่อลิตร) และกลูโคส-6-ฟอสเฟต (5 ไมโครโมลาร์) ให้ผลผลิตใกล้เคียงกันคือ ประมาณ 825-830 มก. ต่อลิตร ส่วนไพรูเวท )15 มก. ต่อลิตร ใฟ้ผลผลิตประมาณ 800 มก. ต่อลิตร เมื่อเติม MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O ร่วมกับสารประกอบเหล่านี้แต่ละชนิดที่ความเข้มข้นข้างต้น พบว่าไพรูเวทให้ผลผลิตสูงสุดคือประมาณ 950 มก.ต่อลิตร กลูโคส-6-ฟอสเฟต ให้ผลผลิตดีรองลงมาคือประมาณ 930 มก. ต่อลิตร ส่วนสารประกอบชนิดอื่นๆ ไม่มีผลช่วยเพิ่มการผลิตเมื่อเทียบกับการเติม MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O การศึกษาในระดับถังหมักขนาด 5 ลิตร โดยใช้อัตราเร็วในการกวน 300 รอบต่อนาที อัตราการให้อากาศ 1.5 vvm พบว่าการทดลองชุดควบคุมให้ผลผลิตกรดไฮยาลูโรนิกสูงสุด 2,144 มก. ต่อลิตร ที่ชั่วโมงที่ 30 เมื่อมีการเติมปัจจัยเดี่ยว ได้แก่ MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O (10 มก. ต่อลิตร) พบว่าผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 2,215 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 30 และให้ผลผลิตสูงสุดเป็น 2,572 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 39 เมื่อเติมไพรูเวท (15 มก. ต่อลิตร) ให้ผลผลิตสูงสุด 2,541 มก. ต่อลิตร ที่ชั่วโมงที่ 30 เมื่อเติมร่วมกันระหว่าง MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O กับไพรูเวทที่ความเข้มข้นดังกล่าว เชื้อผลิตกรดไฮยาลูโรนิกได้ 2,342 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 30 และให้ผลผลิตสูงสุด 2,903 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 48 เมื่อหมักภายใต้ภาวะดังกล่าวแต่เพิ่มอัตราเร็วในการกวนเป็น 400 และ 500 รอบต่อนาทีจะได้ผลผลิตได้เป็น 2,670 และ 2,624 มก. ต่อลิตร ตามลำดับที่ชั่วโมงที่ 30 และให้ผลผลิตสูงสุดประมาณ 2,949 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 45 สำหรับการกวน 400 รอบต่อนาที และ 2,903 มก. ต่อลิตรที่ชั่วโมงที่ 33 สำหรับการกวน 500 รอบต่อนาที Factors affecting hyaluronic acid production by Streptococcus zooepidemicus UN-7 were studied. Two types of the factors which were divalent cations and the precursors or the intermediates in hyaluronic acid biosynthetic pathway were investigated. Hyaluronic acid production in the control experiment in shaken flask was about 620-700 mg.l[superscript -1]. When single factor was added, MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O (10 mg.l[superscript -1]) gave the best yield with the maximum amount of 880 mg.l[superscript -1] whereas similar yields of about 825-830 mg.l[superscript -1] were obtained from both glutamine (125 mg.l[superscript -1]) and glucose-6-phosphate (5 micromolar) and the yield of about 800 mg.l[superscript -1] was obtained from pyruvate (15 mg.l[superscript -1]). Addition of MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O in combination with each fo those compounds at the above concentrations resulted in the best yield of 950 mg.l[superscript -1] with pyruvate whereas glucose-6-phosphate gave the second best of 930 mg.l[superscript -1] but the other compounds had no effect in increasing production yield from that of with MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O alone. Cultivation in a 5 L- fermentor at agitation speed of 300 rpm and aeration rate of 1.5 vvm, the maximum yield of 2,144 mg.l[superscript -1] was obtained at 30 h of cultivation from the control experiment. Addition of MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O (10 mg.l[superscript -1]) yielded 2,215 mg.l[superscript -1] at hour 30 with maximum yield of 2,572 mg.l[superscript -1] at hour 39. Addition of pyruvate (15 mg.l[superscript -1]) gave maximum yield of 2,541 mg.l[superscript -1] at hour 30. Addition of MnSO[subscript 4].H[subscript 2]O in combination with pyruvate at the above concentrations yielded 2,342 mg.l[superscript -1] at hour 30 and gave maximum yield of 2,903 mg.l[superscript -1] at hour 48. When fermentation was performed under the same conditions except at the agitation speeds of 400 and 500 rpm, the yields of 2,670 and 2,624 mg.l[superscript -1] were obtained at hour 30, respectively and reached the maximum yields of 2,949 mg.l[superscript -1] at hour 45 for 400 rpm and 2,903 mg.l[superscript -1] at hour 33 for 500 rpm. 2007-09-21T08:26:59Z 2007-09-21T08:26:59Z 2547 Thesis 9745312592 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4219 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 715597 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย