แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42258 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.945 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.42258 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กำลังคน นิคมอุตสาหกรรม การวางแผนกำลังคน Maptaphut Industrail Estate Industrial districts Manpower Manpower planning |
spellingShingle |
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กำลังคน นิคมอุตสาหกรรม การวางแผนกำลังคน Maptaphut Industrail Estate Industrial districts Manpower Manpower planning ทวิช มณีพนา แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
author2 |
เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก |
author_facet |
เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก ทวิช มณีพนา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ทวิช มณีพนา |
author_sort |
ทวิช มณีพนา |
title |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
title_short |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
title_full |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
title_fullStr |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
title_full_unstemmed |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
title_sort |
แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42258 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.945 |
_version_ |
1724630104939692032 |
spelling |
th-cuir.422582019-09-30T07:46:01Z แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ : กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด Educational management guidelines for manpower development in eco-industry : a case study of Map Ta Phut industrial estate ทวิช มณีพนา เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กำลังคน นิคมอุตสาหกรรม การวางแผนกำลังคน Maptaphut Industrail Estate Industrial districts Manpower Manpower planning วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะของกำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ และ (2) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ ในการศึกษาผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสัมภาษณ์กลุ่ม (Group Interview) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามโดยใช้สถิติการหาค่าร้อยละ และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ และการสัมภาษณ์กลุ่ม ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. คุณลักษณะของกำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านความรู้ แรงงานฝีมือ สามารถกำหนดทิศทางของโรงงาน/บริษัทได้ แรงงานฝีมือจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับนโยบาย/การวางแผนงาน สามารถกำหนดนโยบาย ที่มีความชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ ส่วนแรงงานกึ่งฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ ต้องมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเข้าฝึกอบรมกับทางโรงงาน/บริษัท ที่จะดำเนินการให้ก่อนเข้าทำงาน (2) ด้านทักษะ แรงงานฝีมือต้องมีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถวิเคราะห์ภาพรวม และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นได้ และทักษะการสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้แรงงานระดับรองลงมามีความตระหนักต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม และ (3) ด้านบุคลิกอุปนิสัย แรงงานฝีมือ แรงงานกึ่งฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ ต้องมีจิตสำนึกที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม ยอมรับว่าตนเองมีส่วนช่วยแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ และปฏิบัติอย่างจริงจัง 2. แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนในอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่(1) การศึกษาในระบบ แรงงานฝีมือ แรงงานกึ่งฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ การจัดการศึกษาต้องมุ่งเน้นความรู้ ด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐศาสตร์ และปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม โดยแรงงานฝีมือจะต้องมุ่งเน้นความรู้เพิ่มเติมในด้านนโยบาย/การวางแผนงาน กฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม การขนส่ง สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบอุตสาหกรรม (2) การศึกษานอกระบบ แรงงานฝีมือ แรงงานกึ่งฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ จะใช้การฝึกอบรมภายใน/ภายนอก โรงงาน/บริษัท เพื่อเพิ่มเติมความรู้และประสบการณ์ เฉพาะด้านนั้นๆ เช่น ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน และ (3) การศึกษาตามอัธยาศัย แรงงานฝีมือ แรงงานกึ่งฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ จะใช้การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม เสียงตามสาย และผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ควรทำร่วมกับชุมชน โดยให้กำลังคนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ตั้งแต่ การร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมทำ The objectives of this research are to: (1) study the characteristics of manpower in eco-industry; and (2) propose the educational management guidelines for developing manpower in eco-industry. The research study is conducted by collecting data from Document Studies, Questionnaire, Interview, and Group Interview. The collected data by Questionnaire are analyzed by using statistics to find percentage and ANOVA. The data, collected by Interview and Group Interview, are analyzed by Content Analysis. The research results were concluded as follows: 1) The characteristics of manpower in the eco-industry were divided into 3 aspects: (1) Knowledge. The skilled labors were able to: point out the direction of the factory/company, and therefore were required the knowledge related to the policy/planning; and specify the policy that was clear and practicable. The semi-skilled and unskilled labors must have knowledge about the environment, sustainable development, and economics for being the foundation in training provided by the factory/company prior to work; (2) Skills. The skilled labors are required the system-oriented thinking skill, overall analytical ability and the potential impacts, and the motivation skill in order that the lower level labors were aware of the environmental problems; and (3) Attitude. The skilled labors, semi-skilled labors, and unskilled labors must have the positive conscious mind towards the environment and self-awareness of being able to assist the environment problem-solving and serious practices. 2) Guidelines on educational management for developing manpower in eco-industry were divided into 3 types: (1) Formal education. The skilled labors, semi-skilled labors, and unskilled labors education provision must emphasize the knowledge about environment, sustainable development, economics, and internalizing the positive conscious mind towards the environment. The skilled labors must emphasize the additional knowledge in the environmental law policy/planning, environmental management, transportation, architecture, and industrial design; (2) Non-formal education. The skilled labors, semi-skilled labors, and unskilled labors should implement the internal/external training of the factory/company to increase knowledge and experience in the particular areas such as the environmental knowledge, and sustainable development; and (3) Informal education. The skilled labors, semi-skilled labors, and unskilled labors should implement the learning activities, wire broadcasting, and printing media. These should be done together with the community by allowing the manpower to participate seriously from the thinking planning and action. 2014-04-29T01:28:35Z 2014-04-29T01:28:35Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42258 10.14457/CU.the.2012.945 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.945 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |