ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วริทธิ์ อนุชิราชีวะ
Other Authors: โศรดา กนกพานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2015
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42406
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.784
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.42406
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ฟัน -- การสกัด
การย้ายปลูกกระดูก
วิศวกรรมเนื้อเยื่อ
เทคโนโลยีการควบคุมการปลดปล่อย
เนื้อเยื่อสังเคราะห์
เซริซิน
Teeth -- Extraction
Bone-grafting
Tissue engineering
Controlled release technology
Tissue scaffolds
Sericin
spellingShingle ฟัน -- การสกัด
การย้ายปลูกกระดูก
วิศวกรรมเนื้อเยื่อ
เทคโนโลยีการควบคุมการปลดปล่อย
เนื้อเยื่อสังเคราะห์
เซริซิน
Teeth -- Extraction
Bone-grafting
Tissue engineering
Controlled release technology
Tissue scaffolds
Sericin
วริทธิ์ อนุชิราชีวะ
ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 โศรดา กนกพานนท์
author_facet โศรดา กนกพานนท์
วริทธิ์ อนุชิราชีวะ
format Theses and Dissertations
author วริทธิ์ อนุชิราชีวะ
author_sort วริทธิ์ อนุชิราชีวะ
title ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
title_short ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
title_full ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
title_fullStr ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
title_full_unstemmed ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
title_sort ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2015
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42406
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.784
_version_ 1724629844935835648
spelling th-cuir.424062019-09-25T04:05:37Z ระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดจากเนื้อฟันที่ทำจากเจลาติน/ไฟโบรอินไหมไทย : การศึกษาในห้องปฎิบัติการ A controlled release system for dentin matrix extracts from gelatin/Thai silk fibroin : an in vitro study วริทธิ์ อนุชิราชีวะ โศรดา กนกพานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฟัน -- การสกัด การย้ายปลูกกระดูก วิศวกรรมเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีการควบคุมการปลดปล่อย เนื้อเยื่อสังเคราะห์ เซริซิน Teeth -- Extraction Bone-grafting Tissue engineering Controlled release technology Tissue scaffolds Sericin วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 งานวิจัยนี้มุ่งเน้นในการสกัดและศึกษาลักษณะสมบัติของสารสกัดจากเนื้อฟันมนุษย์ (DME) ตลอดจนพัฒนาระบบควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดเนื้อฟัน โดยใช้ตัวนำส่งที่ผลิตจากเจลาตินผสมไฟโบรอินไหมไทย (G:SF) ในอัตราส่วน 100:0, 70:30 และ 50:50 ซึ่งสามารถเก็บกัก DME ด้วยกลไกทางประจุไฟฟ้า และปลดปล่อยด้วยกลไกการย่อยสลายทางชีวภาพ การสกัด DME จากเนื้อฟันมนุษย์ในงานวิจัยนี้มีค่าร้อยละผลได้อยู่ที่ 0.388 และโปรตีนที่สกัดได้ส่วนใหญ่มีน้ำหนักโมเลกุลอยู่ในช่วง 55-72 กิโลดาลตัน สันนิษฐานว่าเป็นกลุ่มเมทริกซ์โปรตีนที่เป็นกรดซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการตอบสนองภาวะทางชีวภาพต่างๆ DME ที่พีเอช 7.5 และ 5.5 มีค่าศักย์เซต้าอยู่ที่ -10.530 ± 12 มิลลิโวลต์ และ -13.530 ± 31 มิลลิโวลต์ ตามลำดับ และการทดสอบกับต่อเซลล์ MC3T3-E1 แสดงให้เห็นว่า DME มีผลให้อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะของเซลล์น้อยลงอย่างมีนัยสำคัญ และ DME ที่ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร จะส่งเสริมให้เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เป็นกระดูกได้ เนื่องจากในวันที่ 10 พบว่ามีกิจกรรมเอนไซม์ อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ และในวันที่ 21 พบการสะสมแคลเซียมโดยการย้อม Alizarin red ตัวนำส่ง G:SF 100:0, 70:30 และ 50:50 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 มิลลิเมตร และมีน้ำหนักเฉลี่ย 13.28 ± 0.50, 12.86 ± 0.56 และ 11.36 ± 0.63 มิลลิกรัม ตามลำดับ และมีการปลดปล่อยสารทันที (burst release) ในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์อยู่ในช่วงร้อยละ 12.93 ± 7.84 ถึง 21.42 ± 1.18 จากผลการศึกษาอัตราการปลดปล่อย DME ภายนอกร่างกายในเวลา 48 ชั่วโมง พบว่า อัตราส่วนผสมไฟโปรอินไหมไทยที่มากขึ้นในการผลิตตัวนำส่งส่งผลให้อัตราการปลดปล่อย DME ช้าลง สันนิษฐานว่า DME สามารถยึดเกาะกับตัวนำส่งชนิด G:SF 50:50 ได้ดีที่สุด และสอดคล้องกับผลการเปรียบเทียบอัตราการย่อยสลายของตัวนำส่งทั้งสามชนิดที่ว่า ตัวนำส่งชนิด G:SF 50:50 มีอัตราการย่อยสลายที่ช้าที่สุดด้วย กล่าวได้ว่า ตัวนำส่งเจลาตินผสมไฟโบรอินไหมไทยสามารถนำมาพัฒนาเพื่อการควบคุมการปลดปล่อย DME ได้ต่อไป To characterize the dentin matrix extracted from human teeth (DME) and develop a controlled release system from gelatin/Thai silk fibroin (G:SF) to be used as carrier for DME. The carriers were produced by weight blending ratio of G:SF 100:0, 70:30, and 50:50. These carriers was designed to interact with DME by the opposite electrostatic charge and provide sustain releasing by biodegradation. The yield of extraction is 0.388% by weight. Molecular weights of extracted crude proteins are in the range of 55-72 kDa which could be assumed as acidic matrix proteins. The zeta-potential of DME are -10.53 ± 0.12 and -13.53 ± 0.31 mV in pH 7.5 and 5.5 solutions, respectively. The results of in vitro cell culture using MC3T3-E1 cell line indicated that DME suppressed specific growth rate of the cell. However, 100 µg/ml of DME significantly enhanced the osteogenic differentiation as evaluated from ALP activity at day 10 and calcium deposition at day 21. The G:SF carriers, which produced by weight blending ratio of 100:0, 70:30, and 50:50, weighed 13.28 ± 0.50, 12.86 ± 0.56 and 11.36 ± 0.63 mg, respectively and showed a burst releasing of DME around 12.93 ± 7.84 to 21.42 ± 1.18 in PBS. In vitro release experiment of DME from these carriers for 48 hours showed controlled-release pattern. The increasing of Thai silk fibroin blending amount resulted in the decreasing of degradation rate of the carriers. The slowest releasing pattern of DME could be observed in a G:SF 50:50 scaffold, therefore, this ratio had been assumed to be the best scaffold interacted with DME. The results indicated that G:SF carriers had a high potential to be applied in DME controlled release applications. 2015-06-23T03:43:54Z 2015-06-23T03:43:54Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42406 10.14457/CU.the.2011.784 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.784 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย