การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จิราพร พวงแก้ว
Other Authors: ชมภูนุช วิรุณานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2015
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42484
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.359
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.42484
record_format dspace
spelling th-cuir.424842019-08-29T04:10:53Z การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน Biodiesel production from physic nut Jatropha cucas L. oil catalyzed by yeast Aureobasidium pullulans var. melanogenum จิราพร พวงแก้ว ชมภูนุช วิรุณานนท์ สุภางค์ จุฬาลักษณานุกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ แบคทีเรีย มะเร็ง -- ปัจจัยเสี่ยง โพลิไซคลิกอะโรมาติคไฮโดรคาร์บอน ตะกอน (ธรณีวิทยา) แบคทีเรียดีไนทริไฟอิง Polycyclic aromatic hydrocarbons Cancer -- Risk factors Bacteria Sediments (Geology) Denitrifying bacteria วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 สารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) สามารถเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารอินทรีย์ กิจกรรมของมนุษย์ การขุดเจาะ-กลั่นน้ำมันดิบ รวมไปถึงการรั่วไหลจากเรือบรรทุกน้ำมันและเรือขนส่งสินค้า เป็นต้น การรั่วไหลของ PAHs เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดการรั่วไหลลงสู่บริเวณตะกอนใต้ทะเลที่มีออกซิเจนต่ำและการย่อยสลายเกิดได้ช้า งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงที่สามารถย่อยสลาย PAHs ได้ในภาวะไร้ออกซิเจน ผลการคัดแยกได้แบคทีเรียไนทริไฟอิง 1 สายพันธุ์ คือ Clostridium barlettii และแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงได้อีก 6 สายพันธุ์ คือ Enterococcus faecalis, Paenibacillus macerans, Bacillus subtilis, Bacillus tequilensis, Proteus mirabilis และ Enterobacter asburiae โดย P. macerans มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายดีที่สุด สามารถย่อยสลายแนพธาลีน ไพรีน และเบนโซ-เอ-ไพรีนได้เมื่อเวลาผ่านไป 16 วัน จากปริมาณเริ่มต้น 200 ppm จนเหลือ 73, 167 และ 98 ppm ตามลำดับ นอกจากนี้ประสิทธิภาพในการย่อยสลายยังขึ้นอยู่กับจำนวนวงเบนซีนที่เป็นองค์ประกอบภายในโครงสร้างและไนเทรตซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนในวิถีการย่อยสลาย PAHs ที่เกิดขึ้นภายใต้ภาวะไร้ออกซิเจนอีกด้วย Polycyclic Aromatic Hydrocarbons are produced during natural processes such as incomplete combustion of organic materials, human activity, oil drilling rig capsizes and present in crude oil that has spent time in the ocean and eventually reaches shore. Environmental contamination with PAHs are a concern, especially when they are contaminated in marine sediment, they do not break down easily in the water and can stay in the environment for long periods of time. The work in this thesis is focused on screening of denitrifying bacteria from marine sediment for PAHs degradation. The results showed that Nitrification bacteria specie from identification were Clostridium bartlettii and Denitrification bacteria species were Enterococcus faecalis, Paenibacillus macerans, Bacillus subtilis, Bacillus tequilensis, Proteus mirabilis and Enterobacter asburiae. The highest number of PAHs degrading ability were observed in P. mirabilis and P. macerans. At 16 days of incubation, Napthalene, Pyrene and Benzo-a-Pyrene can be eliminated for 73, 167 and 98 ppm, respectively with initial 200 ppm of PAHs. In addition, the performance of degradation is also depend on a number of benzene ring in PAHs structure and nitrate as an electron acceptor in the way to degrade PAHs occurs under anaerobic condition as well. 2015-06-24T02:27:42Z 2015-06-24T02:27:42Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42484 10.14457/CU.the.2012.359 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.359 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic แบคทีเรีย
มะเร็ง -- ปัจจัยเสี่ยง
โพลิไซคลิกอะโรมาติคไฮโดรคาร์บอน
ตะกอน (ธรณีวิทยา)
แบคทีเรียดีไนทริไฟอิง
Polycyclic aromatic hydrocarbons
Cancer -- Risk factors
Bacteria
Sediments (Geology)
Denitrifying bacteria
spellingShingle แบคทีเรีย
มะเร็ง -- ปัจจัยเสี่ยง
โพลิไซคลิกอะโรมาติคไฮโดรคาร์บอน
ตะกอน (ธรณีวิทยา)
แบคทีเรียดีไนทริไฟอิง
Polycyclic aromatic hydrocarbons
Cancer -- Risk factors
Bacteria
Sediments (Geology)
Denitrifying bacteria
จิราพร พวงแก้ว
การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 ชมภูนุช วิรุณานนท์
author_facet ชมภูนุช วิรุณานนท์
จิราพร พวงแก้ว
format Theses and Dissertations
author จิราพร พวงแก้ว
author_sort จิราพร พวงแก้ว
title การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
title_short การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
title_full การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
title_fullStr การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
title_full_unstemmed การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
title_sort การคัดกรองแบคทีเรียดีไนทริไฟอิงจากตะกอนดินใต้ทะเลเพื่อการย่อยสลายสารประกอบพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2015
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42484
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.359
_version_ 1724630105930596352