โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
Other Authors: สุรพล วิรุฬห์รักษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2015
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42529
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.42529
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โนรา
นาฏศิลป์ -- ไทย (ภาคใต้)
การรำ -- ไทย (ภาคใต้)
spellingShingle โนรา
นาฏศิลป์ -- ไทย (ภาคใต้)
การรำ -- ไทย (ภาคใต้)
ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
author2 สุรพล วิรุฬห์รักษ์
author_facet สุรพล วิรุฬห์รักษ์
ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
format Theses and Dissertations
author ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
author_sort ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
title โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
title_short โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
title_full โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
title_fullStr โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
title_full_unstemmed โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
title_sort โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2015
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42529
_version_ 1681413352505475072
spelling th-cuir.425292015-06-24T04:16:01Z โนรา : การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน Nora : kan ram pasom tha baeb tua on ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์ สุรพล วิรุฬห์รักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย โนรา นาฏศิลป์ -- ไทย (ภาคใต้) การรำ -- ไทย (ภาคใต้) วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 ศึกษาการรำประสมท่าแบบตัวอ่อนในเรื่องประวัติ การเตรียมความพร้อมทางร่างกาย การแสดงและแนวคิดในการรำประสมท่า ที่ปรากฏอยู่ในการแสดงโนราจังหวัดสงขลา สตูล ระนอง และนครศรีธรรมราช โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การสาธิต และการแสดงจริงของผู้แสดงที่รำประสมท่าแบบตัวอ่อน 5 คน ซึ่งอยู่ในสายตระกูลโนราที่สำคัญและมีชื่อเสียง ผลของการศึกษาสรุปได้ว่า การรำประสมท่าแบบตัวอ่อน คือการรำโนราที่เกิดจากการคัดเลือกท่าโนราพื้นฐานบางท่าและท่าตัวอ่อนซึ่งได้จัดรูปแบบขึ้นใหม่มาเรียงร้อยเชื่อมโยงท่ารำเข้าด้วยกัน ตามความคิดสร้างสรรค์และความถนัดของผู้รำ เพื่ออวดความสามารถพิเศษเฉพาะตัว การรำปรากฏอยู่ในขั้นตอนที่ 4 คือ ช่วงปล่อยตัวนางรำของการแสดงโนราเพื่อความบันเทิงและขั้นตอนที่ 8 คือ ช่วงรำเล่นสนุกของการแสดงโนราแก้บน ผู้แสดงเป็นชายหรือหญิงอายุระหว่าง 10-35 ปี แต่งกายเหมือนการแสดงโนราทั่วไป แต่เมื่อต้องการอวดท่ารำพิเศษจะถอดเทริด เล็บและหาง วงดนตรีประกอบด้วย ทับ โหม่ง กลอง ฉิ่งและปี่ ผู้ตีทับจะต้องรู้จักท่ารำของผู้รำเป็นอย่างดี เพื่อตีจังหวะดนตรีให้ทันกับจังหวะรำเพราะผู้รำไม่บอกให้นักดนตรีรู้ตัวล่วงหน้า ท่าตัวอ่อนที่ใช้ในการรำพบว่ามี 24 ท่า คือ ท่านั่งรำ 10 ท่า ท่ายืนรำ 9 ท่า และท่านอนรำ 5 ท่า ท่ารำดังกล่าวมีความเป็นมา 6 ประการดังนี้ 1. ปฏิบัติตามแบบแผนของครูในอดีต 2. เพื่อเป็นการบริหารร่างกาย 3. เพื่อเพิ่มรายได้ในการแสดง 4. เพื่อแสดงความสามารถของตนเอง 5. เพื่อแสดงความกล้า 6. เพื่อใช้ประกอบการรำทำบท การรำประสมท่าแบบตัวอ่อนมีโครงสร้างของการรำ 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1. เดินออกจากม่าน 2. ยืนรำ 3. นั่งรำ 4. ยืนรำ 5. ถอดเทริด เล็บและหาง 6. แสดงลวดลายในท่าพิเศษ 7. สวมเทริด เล็บ และหาง 8. นาด 9. นั่งพนักรำโนราตามปกติ การรำมีแนวคิดในการประสมท่ารำสำคัญ 7 ประการคือ 1. นำกระบวนการรำมาใช้ให้ถูกขั้นตอนการแสดง 2. จัดท่ารำจากท่าง่ายไปหาท่ายาก 3. แสดงท่ารำให้เกิดความสมดุลของร่างกาย ในด้านซ้าย-ขวา และด้านหน้า-หลัง 4. ใช้ท่าโนราปกติในการเชื่อมท่ารำ 5. มีผู้ช่วยหรือใช้ภาชนะเพื่อให้การแสดงความสามารถเด่นชัด 6. ผู้รำพลิกแพลงรายละเอียดในท่าตัวอ่อนเพื่อให้เห็นความสามารถเหนือผู้อื่น 7. การปฏิบัติในบางท่ามีกระบวนท่าบังคับใช้ผู้รำต้องปฏิบัติตามลำดับ มิฉะนั้นจะเกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ การรำประสมท่าแบบตัวอ่อนในปัจจุบันนี้มีผู้แสดงได้น้อย เพราะผู้รำต้องมีลำตัวอ่อนอีกทั้งการฝึกก็ยากใช้เวลานานกว่าปกติ ดังนั้นจึงมีผู้สืบทอดน้อย ทำให้หาดูการแสดงแบบนี้ได้ยาก น่าจะได้มีการหาวิธีอนุรักษ์ ส่งเสริมและเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักสืบไป Aims at studying kan ram pasom tha baeb tua on or Nora dance with body bending. It focusses on history body preparation, performance and choreography of this type of Nora which is found in Songkhla, Satoon, Ranong and Nakon Srithammarat provinces. The study is based upon related documents, interviewing, observation of dance demonstration, and the real performances of five famous dancers. The study finds that, this dance is a combination of general Nora dance and the dance with body bending based upon creatirity and special talent of dancers. This is to show their individual speciality. This dance usually appears during the fourth and the eight part of the normal Nora performance. Dancers of this type are both male and female age 10-35. They dress in normal Nora costume. They take off their headdress, nails, and tail when they perform special body bending dance. Musical instruments comprise gongs, cymbals, oboe, and drums. Drummers must familiar himself with dancer's style in order to synchronise his drum beating with the dancer. Twenty four dance gestures are found : 10 sitting, 9 standing and 5 lying gestures. Sources of these gestures came from 1. former gurus, 2. exercise, 3. earning extra in come, 4. showing individual expertise, 5. challenging, 6. exemplifying song lyrics. Dance structure is divided into 9 steps : 1. entrance, 2. standing gestures A, 3. sitting gestures, 4. standing gestures B, 5. taking off headdress, nails and tail, 6. special dance gestures, 7. putting costume pieces back on, 8. walking, 9. sitting and perform normal Nora. Seven concepts of choreography are found. They are : 1. right gesture at the right moment, 2. simple to complex gestures, 3. symmetrical balance, 4. movements for continuation are borrowed form normal nora, 5. assistant and props are employed when needed, 6. showing dancer's supericrity, 7. some dance gestures have standard sequence that dancer must perform to avoid injury. Dance with body bending is now performed by very few dancers because it requires dancers with special body bending or rubber body. Moreover, training needs longer and tougher process. Less people practice this dance. Thus, it is rarely seen. So the mechanism to preserve, promote, and disseminate is needed to guarantee the continuation of this dance in the future. 2015-06-24T04:16:01Z 2015-06-24T04:16:01Z 2539 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42529 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย