ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศันสนีย์ เทพชาตรี
Other Authors: ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4358
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.4358
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ทันตกรรมรากเทียม
แบคทีเรีย
spellingShingle ทันตกรรมรากเทียม
แบคทีเรีย
ศันสนีย์ เทพชาตรี
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
author2 ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
author_facet ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
ศันสนีย์ เทพชาตรี
format Theses and Dissertations
author ศันสนีย์ เทพชาตรี
author_sort ศันสนีย์ เทพชาตรี
title ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4358
_version_ 1681409914808827904
spelling th-cuir.43582008-01-28T11:32:39Z ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักบนตัวรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย The relationship between size of gap at implant-abutment interface and bacterial penetration ศันสนีย์ เทพชาตรี ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรมรากเทียม แบคทีเรีย วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักและรากเทียมกับการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรีย โดยเลือกใช้เชื้อในการทดลอง 3 ชนิดคือ เชื้อฟิวโซแบคทีเรีย นิวคลีเอตัม (Fusobacterium nucleatum) เชื้อพอร์ไฟโรโมนาส จินจิวาลิส (Porphyromonas gingivalis) และเชื้อเอสเชอริเชีย คอไล (Escherichia coli) ทำการทดลองในแต่ละเชื้อโดยกำหนดช่วงขนาดรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักและรากเทียมเป็น 3 ช่วงได้แก่ ช่วงที่ 1 มีขนาด 10.001-20.000 ไมครอน ช่วงที่ 2 มีขนาด 1.001-10.000 ไมครอน และช่วงที่ 3 มีขนาด 0.001-1.000 ไมครอน โดยทำการทดสอบในแต่ละกลุ่มเชื้อและกลุ่มขนาดรอยเชื่อมต่อจำนวน 30 ชิ้น รวมทดสอบต่อเชื้อ 90 ชิ้นทดสอบ ทำการแช่ชิ้นทดสอบในสารเลี้ยงเชื้อที่ได้มีการควบคุมความขุ่นให้สัมพันธ์กับความหนึดของสารเลี้ยงเชื้อเพื่อให้มีความหนืดอยู่ในช่วงระหว่างความหนืดค่าต่ำสุดและสูงสุดของน้ำเหลืองเหงือก โดยแช่ทิ้งไว้ 48 ชั่วโมง จากนั้นทำการตรวจหาการแทรกซึมโดยใช้กระดาษซับคลองรากฟันซับส่วนในของรากเทียมแล้วใส่กระดาษซับคลองรากฟันลงในหลอดแสดงผล บันทึกจำนวนของหลอดแสดงผลที่ให้ผลบวกซึ่งแสดงถึงการซับเชื้อได้จากส่วนในของรากเทียม พบว่าในเชื้อฟิวโซแบคทีเรียม นิวคลีเอตัม ขนาดรอยเชื่อมต่อช่วงที่ 1 มีการแทรกซึมของเชื้อ 7 ชิ้นทดสอบ ช่วงที่ 2 มีการแทรกซึมของเชื้อ 8 ชิ้นทดสอบและช่วงที่ 3 ไมพบการแทรกซึมของเชื้อเลย ส่วนเชื้อพอร์ไฟโรโมนาส ขนาดรอยเชื่อมต่อช่วงที่ 1 มีการแทรกซึมของเชื้อ 5 ชิ้นทดสอบ ช่วงที่ 2 มีการแทรกซึมของเชื้อ 10 ชิ้นทดสอบและช่วงที่ 3 ไม่พบการแทรกซึมของเชื้อเลย และสำหรับเชื้อเอสเชอริเชีย คอไล ขนาดรอยเชื่อมต่อช่วงที่ 1 และช่วงที่ 2 มีการแทรกซึมของเชื้อทั้งหมดและช่วงที่ 3 มีการแทรกซึมของเชื้อ 18 ชิ้นทดสอบ จากนั้นวิเคราะห์หาความแตกต่างการแทรกซึมของเชื้อจากอิทธิพลของขนาดรอยเชื่อมที่มีขนาดต่าง ๆ กันในแต่ละเชื้อ ใช้การทดสอบไคสแควร์ พบว่าทั้ง 3 เชื้อมีความแตกต่างของการแทรกซึมของเชื้อแบคทีเรียเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักและรากเทียมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99% (p value<0.01) สรุปได้ว่าขนาดของรอยเชื่อมต่อบริเวณตัวหลักและรากเทียมมีผลต่อการแทรกซึมของเชื้อทั้ง 3 ชนิด The purpose of this study was to evaluate the relationship between size of gap at implant-abutment interface and bacterial penetration. Three types of bacteria: Fusobacterium nucleatum, Porphyromonas gingivalis and Escherichia coli were selected. Three ranges of gap at implant-abutment interface were set up. The first range was 10.001-20.000 micrometer, the second range was 1.001-10.000 micrometer and the third range was 0.001-1.000 micrometer. Thirty implant and implant abutment specimens were used for each condition. The experiments were done by submerging the specimens in inoculated broth, the viscosity of which was controlled by optical absorption value which was set to the range of minimum and maximum value of gingival fluid viscosity. The specimens were submerged for 48 hours and were then subjected to the bacterial penetration test by allowing an endodontic paper point to contact the internal part of each implant for about 60 seconds, then transferring the paper point into each experimental tube andcounting the amount of the positive experimental tube as the positive result. The numbers of positive results in F. nucleatum were 7,8 and 0 in the first, second and third gap range respectively, while those in P. gingivalis were 5 and 10 in the first and second gap range, but no growth was seen in the third one. In E. coli, all samples of the first and second gap ranges were found to be positive; however, only 18 positive samples were seen in the third one. The influence of gap size to the bacterial penetrating capability was analyzed by Chi-square test and a significant difference was demonstrated in all the bacteria used in this study (p<0.01). As a conclusion, the variation in size of gap at implant-abutment interface the bacterial penetration. 2007-10-10T06:55:23Z 2007-10-10T06:55:23Z 2543 Thesis 9743472991 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4358 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1065542 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย