ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2007
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4576 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.4576 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.45762007-12-04T07:30:07Z ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Concentration of organochlorine in egg yolk and reproductive success of Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) at Wat Tan-En Non-Hunting Area, Phra Nakhon Si Ayutthaya province ศรัณย์ เกียรติมาลีสถิตย์ กำธร ธีรคุปต์ อาจอง ประทัตสุนทรสาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ไข่แดง นกยางเปีย -- การสืบพันธุ์ วัดตาลเอน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การศึกษาความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย บริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน อำเภอบางประหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2545 พบว่า รังของนกยางเปียจำนวน 61 รังมีจำนวนไข่ตั้งแต่ 1 ถึง 5 ฟอง จำนวนไข่เฉลี่ยต่อรังคือ 3.10 +- 0.87 ฟอง โดยร้อยละ 49.2 จะมีจำนวนไข่ 3 ฟอง ความสำเร็จในการฟักของไข่ต่อรังและอัตราการรอดต่อรังของลูกนกยางเปียจนบินออกจากรัง จำนวน 36 รัง คิดเป็นร้อยละ 67.06 และ ร้อยละ 20.22 ตามลำดับ ยังพบอีกว่าจำนวนไข่ต่อรัง อัตราการฟักออกจากไข่ และอัตราการรอดของลูกนกอายุ 1 สัปดาห์ของปีพ.ศ. 2545 น้อยกว่าปี พ.ศ. 2525 อย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งปี พ.ศ. 2525 เป็นปีก่อนที่จะมีการห้ามใช้สาร DDT ทางการเกษตรในประเทศไทย จากการศึกษาผลกระทบของการเก็บไข่ 1 ฟองต่อรังเพื่อศึกษาปริมาณของสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนคลอรีนพบว่า การเก็บไข่ไม่มีผลทางลบต่ออัตราการฟักและอัตราการรอดทุกระยะแต่กลุ่มที่ทำการเก็บไข่จะมีจำนวนตัวของลูกนกอายุ 4 สัปดาห์น้อยกว่ากลุ่มควบคุม พบว่า ยังมีสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนคลอรีน 1 ชนิดคือ 4, 4' DDE ในทุกตัวอย่างไข่แดง (n=12) ปริมาณที่พบอยู่ระหว่าง 33.4 -116.0 นาโนกรัมต่อกรัม (น้ำหนักเปียก) ความหนาของเปลือกไข่นกยางเปีย จำนวน 24 ฟอง มีค่าเฉลี่ย 0.261 +- 0.005 มิลลิเมตร ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสาร 4,4' DDE ที่พบกับความหนาของเปลือกไข่ และปริมาณดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปียในทุกระยะ ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการลดลงของความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปียที่สังเกตได้ในระหว่างทำการศึกษาในภาคสนามได้แก่ ลมแรง ผู้ล่า การแข่งขันในชนิดเดียวกันและต่างชนิด นอกจากนี้พฤติกรรมของลูกนก รวมทั้งการรบกวนโดยมนุษย์ จะมีผลกระทบต่อความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปียในพื้นที่ที่ศึกษาด้วย The reproductive success of the Little Egret Egretta garzetta population at Wat Tan-en Non-hunting Area, Bang Pahan District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province was studied in 2002. Clutch sizes (n=61 nests) ranged from 1-5 eggs. The mean of clutch sizes was 3.10 +- 0.87 eggs of which 49.2 % were the clutch size of 3 eggs. The averages of hatching success and fledging success per nest (n = 36 nests) were 67.06 % and 20.22 %, respectively. The clutch size, hatching rate and survival rate of one-week-old nestlings in 2003 were significantly lower than those in 1982, which is a year after the DDT was banned for agricultural use in Thailand. The effect of the collection of one egg per nest to study organochlorine contamination was determined and it was found that the egg collection had no negative effect on hatching and survival rates but the total number of chicks during a 4 week period was much lower in the collected group than in the control group. Only 4, 4' DDE was detected in the yolk of all samples (n=12eggs), varying from 33.4 116.0 ng/g wt. The mean of eggshell thickness (n=24 eggs) was 0.261 +- 0.005 mm. Negative relationships between the concentration of 4, 4' DDE and eggshell thickness as well as the reproductive success at all stages were not found. Major factors influencing the decline of reproductive successes observed during the field study were strong wind, predators, intraspecific competition and interspecific competition. Furthermore, the chick behaviors and the human disturbance had some effects on the reproductive success of the Little Egret population at the study site 2007-10-31T02:21:13Z 2007-10-31T02:21:13Z 2546 Thesis 9741734484 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4576 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2364145 bytes application/pdf application/pdf พระนครศรีอยุธยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไข่แดง นกยางเปีย -- การสืบพันธุ์ วัดตาลเอน |
spellingShingle |
ไข่แดง นกยางเปีย -- การสืบพันธุ์ วัดตาลเอน ศรัณย์ เกียรติมาลีสถิตย์ ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
author2 |
กำธร ธีรคุปต์ |
author_facet |
กำธร ธีรคุปต์ ศรัณย์ เกียรติมาลีสถิตย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศรัณย์ เกียรติมาลีสถิตย์ |
author_sort |
ศรัณย์ เกียรติมาลีสถิตย์ |
title |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_short |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_full |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_fullStr |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_full_unstemmed |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย Egretta garzetta (Linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_sort |
ปริมาณของสารออร์แกโนคลอรีนในไข่แดงและความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของนกยางเปีย egretta garzetta (linnaeus, 1758) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดตาลเอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2007 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4576 |
_version_ |
1681413219979100160 |