การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2007
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4586 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.4586 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.45862008-02-04T06:48:57Z การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ Energy management system design for steam power plant สวรรยา แย้มสกุลณา พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ บุญรอด สัจจกุลนุกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ หม้อไอน้ำ การเผาไหม้ กังหันไอน้ำ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 ชีวมวลเป็นแหล่งพลังงานซึ่งได้รับความสนใจ เนื่องจากมีปริมาณมากมายและราคาถูก ชีวมวลถูกนำมาใช้ในการผลิตพลังงานในรูปแบบที่ต้องการ เช่นนำมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า โดยการเผาชีวมวลรวมกับถ่านหิน และส่งผ่านความร้อนไปให้กับน้ำเพื่อผลิตไอ น้ำและพลังงานจากไอน้ำถูกใช้ไปในการขับเคลื่อนกังหัน และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ซึ่งเป็นการใช้ชีวมวลรูปแบบหนึ่งให้เกิดประโยชน์ ในการลดต้นทุนในการผลิตไอน้ำ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งประเด็นที่การจำลองภาวะการณ์ ของระบบผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม กระบวนการประกอบด้วยหม้อไอน้ำฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน 2 เครื่อง ท่อรวมไอน้ำ กังหันและเครื่องผลิตไฟฟ้า 2 เครื่อง โดยศึกษาผลกระทบของชนิดเชื้อเพลิงชีวมวล ต่อผลการผลิตไอน้ำและการกระจายภาระงานให้แก่หม้อไอน้ำ และกังหันผลิตไฟฟ้าที่ภาวะภาระงานต่างๆ โดยใช้ข้อมูลจากโรงงานกระดาษสยามคราฟท์อุตสาหกรรมจำกัด ในการกำหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของหม้อไอน้ำและกังหันผลิตไฟฟ้า พร้อมทั้งศึกษาความไวต่อความคลาดเคลื่อน ของข้อมูลที่ใช้ในการจำลองภาวะ จากการศึกษาพบว่าการเลือกใช้เชื้อเพลิงเพื่อผลิตไอน้ำขึ้น กับราคาและค่าความร้อน ในการศึกษาได้จำลองการใช้เชื้อเพลิงผสม 3 ชนิด และ 4 ชนิด สำหรับเชื้อเพลิงผสมสามชนิด ที่ให้ต้นทุนการผลิตไอน้ำต่ำสุดคือลิกไนต์(ลานนา) กากตะกอนและขุยอ้อย ต้นทุนการผลิตคือ 379,452 บาทต่อวันเหลือ 71.87 บาทต่อตัน ไอน้ำ ในสัดส่วนลิกไนต์(ลานนา):กากตะกอน:ขุยอ้อย เท่ากับ 0.500:0.121:0.379 และสำหรับการเลือกใช้เชื้อเพลิงสี่ชนิด ที่ให้ต้นทุนการผลิตไอน้ำต่ำสุดคือ ลิกไนต์(ลานนา) กากตะกอน เปลือกไม้และขุยอ้อย ต้นทุนการผลิตคือ 378,470 บาทต่อวัน หรือ 71.68 บาทต่อตันไอน้ำ ในสัดส่วนลิกไนต์ (สิรามณี):กากตะกอน:เปลือกไม้:ขุยอ้อย เท่ากับ 0.500:0.122:0.186:0.192 การกระจายภาระงานให้แก่หม้อไอน้ำสองเครื่องพบว่า เครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า จะได้รับมอบหมายงานที่เต็มกำลังการผลิต ส่วนการกระจายภาระงานให้แก่กังหันไอน้ำ เครื่องที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ต่ำกว่าจะได้รับมอบภาระที่น้อยกว่า โดยยังสามารถผลิตไฟฟ้าได้ในปริมาณเท่าเดิม แต่มีพลังงานความร้อนเหลือใช้ในกระบวนการน้อยลง Biomass is an energy source that receives attention, since it is abundant and low cost. When used for generating electricity, biomass fuels are combined with coal for combustion and transformation water into steam, which is then used to drive turbines and generators for producing electricity. This paper aims on developing a model simulation for a cogeneration system which composes of two Circulating Fluidized Bed boilers (CFB), a steam header, two turbines, and two generators. The data and related information were provided by Siam Kraft Co., LTD. The sensitivity analysis was also investigated the impact of uncertainly information on the steam production and load allocation for the boilers and turbines. The result shows that, the decisions on types of fuels are dependent on price and heating value of fuels. The study simulated the combustion of mixed fuels with three and four types of fuels. For the mixtures of three types of fuels, the minimum cost of steam production is 379,452 Baht/day or 71.87 Baht/ton of steam. The fraction of the mixture composition is 50.0% lignite (lanna), 12.1% sludge, and 37.9% pith. For the mixtures of four types of fuels, the minimum cost of steam production is 378,470 Baht/day or 71.68 Baht/ton of steam. The fraction of the mixture composition is 50% lignite (lanna), 12.2% sludge, 18.6% bark, and 19.2% pith. The more efficient boiler, the more load is allocated. Turbine producing less electricity, is less load allocation. While the same amount of electricity is produced, the thermal output becomes less. 2007-10-31T04:48:23Z 2007-10-31T04:48:23Z 2543 Thesis 9743462511 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4586 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 888077 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ หม้อไอน้ำ การเผาไหม้ กังหันไอน้ำ |
spellingShingle |
โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ หม้อไอน้ำ การเผาไหม้ กังหันไอน้ำ สวรรยา แย้มสกุลณา การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
author_facet |
พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ สวรรยา แย้มสกุลณา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สวรรยา แย้มสกุลณา |
author_sort |
สวรรยา แย้มสกุลณา |
title |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
title_short |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
title_full |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
title_fullStr |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
title_full_unstemmed |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
title_sort |
การออกแบบระบบจัดการพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2007 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4586 |
_version_ |
1681409383108444160 |