อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด

วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ
Other Authors: สุนทร บุญญาธิการ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4600
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.4600
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การปรับอากาศ
การไหลของอากาศ
อาคาร -- การใช้พลังงาน
spellingShingle การปรับอากาศ
การไหลของอากาศ
อาคาร -- การใช้พลังงาน
ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ
อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
description วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
author2 สุนทร บุญญาธิการ
author_facet สุนทร บุญญาธิการ
ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ
format Theses and Dissertations
author ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ
author_sort ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ
title อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
title_short อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
title_full อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
title_fullStr อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
title_full_unstemmed อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
title_sort อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4600
_version_ 1681413430870802432
spelling th-cuir.46002007-12-04T09:35:03Z อิทธิพลของการรั่วซึมของอากาศต่อการใช้พลังงาน ในอาคารปรับอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด The infiltration effects on energy usage through wall and windows in air-conditioned building ศศิน วิบูลบัณฑิตยกิจ สุนทร บุญญาธิการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การปรับอากาศ การไหลของอากาศ อาคาร -- การใช้พลังงาน วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 ในปัจจุบันอาคารที่ใช้การปรับอากาศเพื่อสร้างโซนสบาย ให้กับสภาพแวดล้อมในอาคาร มีความจำเป็นต้องใช้พลังงานเป็นจำนวนมาก ในการขจัดความร้อนและความชื้นอันเนื่องมาจากการรั่วซึมของอากาศ ในทางปฏิบัติยังไม่มีการวิจัยและคำนึงถึงผลของการรั่วซึม ของอากาศต่อการใช้พลังงานในอาคารปรับอากาศในภูมิภาคแบบร้อนชื้น ทั้งที่การรั่วซึมของอากาศนั้นส่งผลต่อการใช้พลังงานในอาคารอย่างมาก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาแสวงหาว่าปัจจัยใด ที่ก่อให้เกิดการรั่วซึมของอากาศ และแสวงหาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ใช้ ในการประเมินการสูญเสียพลังงานในการปรับอากาศจากการรั่วซึมของอากาศ ผลที่ได้จากการวิจัยนำไปใช้ในการประเมินการสูญเสียพลังงาน จากการรั่วซึมของอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด ช่องเปิดที่ใช้ในการทดลองประกอบไปด้วย ซ่องเปิดบานเกร็ด บานเลื่อนและบานติดตาย รวมไปพึงผนังก่ออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตรเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ โดยการหาความสัมพันธ์ ระหว่างความเร็วลมภายนอก กับอัตราการรั่วซึม ของอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิด เมื่อสามารถหาความสัมพันธ์ดังกล่าวได้แล้ว จึงอาศัยการสร้างสมการถดถอยแบบไม่เป็นเส้นตรง เพื่อการทำนายผลจากข้อมูลที่รวบรวมได้ จากนั้นจึงนำมาใช้ในการประเมินการรั่วซึมของอากาศตลอดทั้งปี จากข้อมูลภูมิอากาศโดยคำนึงถึง ความร้อน ความชื้นและเอ็นทัลปีตลอดทั้งปี ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า การรั่วซึมของอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิดนั้น มีปัจจัยสำคัญ คือ ประเภทของช่องเปิดและความเร็วลมภายนอกที่มากระทำ โดยเมื่อเปรียบเทียบระหว่างช่องเปิดที่ทดลองแล้วพบว่า ช่องเปิดบานเกร็ดมีอัตราการรั่วซึมของอากาศสูงสุดต่อตารางเมตร คือ มีการสูญเสียพลังงานในการปรับอากาศเฉลี่ย 3390 ตันชั่วโมงต่อปีต่อตารางเมตร อันดับที่ 2 คือ ช่องเปิดบานเปิดโดยเฉลี่ยสูญเสีย 2138 ตันชั่วโมงต่อปีต่อตารางเมตร อันดับที่ 3 คือ ช่องเปิดบานเลื่อนโดยเฉลี่ยสูญเสีย 192 ตันชั่วโมงต่อปีต่อตารางเมตรและดับดับสุดท้าย คือ ช่องเปิดติดตายโดยเฉลี่ยสูญเสีย 178 ตันชั่วโมงต่อปีต่อตารางเมตร ในขณะที่ผนังก่ออิฐฉาบปูนมีการรั่วซึมของอากาศ ส่งผลให้เกิดอัตราภาระการทำความเย็นโดยเฉลี่ยประมาณ 1.0 ตันชั่วโมงต่อตารางเมตรต่อปี สำหรับอิทธิพลของทิศทางนั้น ทิศใต้จะมีแนวโน้มการสูญเสียพลังงานมากที่สุด โดยเฉลี่ยในทุกช่องเปิดและผนังที่ทดลอง ทั้งนี้เนื่องจากทิศใต้มีแนวโน้มที่จะมีความเร็วลมภายนอก โดยเฉลี่ยสูงที่สุดและสม่ำเสมอตลอดทั้งปี จากผลการวิจัยนี้ทำให้สามารถนำข้อมูลที่ได้รับไปใช้ในการออกแบบ เป็นประโยชน์ในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมยุคใหม่เพื่อการประหยัดพลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบเพื่อการลดการรั่วซึมของอากาศผ่านทางผนังและช่องเปิดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม Currently, the building, which use air-conditioning system to create a thermal condition for an interior environment required a large amount of energy to removed heat and humidity from infiltration. At the present time, there is a minimum effort to study the infiltration effects on energy usage in hot humid conditioned. This research had as its objectives to investigated the cause factors and fined the relationship between these factors that use for infiltration the results of research is then, use to evaluated the energy loss from infiltration through wall and windows. The openings in this research consisted of the louver window, hinged window, sliding window and fixed window as well as normal single layer brick masonry wall for comparison. The research included the finding of relationship between external wind speed and rate of infiltration through wall and windows. The non-linear regression equations for predicted infiltration rate was then created from the actual data. The formulated equation is then used to evaluate energy usage from the recorded weather data from the previous year was use for prediction purpose. The results concluded that infiltration is influenced by important factors. These included the categories of openings and external wind speed. The louver window had the highest rate of infiltration. The energy loss was approximately 3,390 tons-hour/year/sq.m. The second highest was the hinged window with an average energy loss of 2,138 tons-hour/year/sq.m., The third highest was sliding window with an average energy loss of 192 tons-hour/year/sq.m. and the last one was fixed window with an average energy loss of 178 tons-hour/year/sq.m. For the brick masonry wall was found that the infiltration resulting from a cooling load or energy loss about 1.0 ton-hour/sq.m./year. Prediction was formulated for 8 orientation and it was found that, a southern wind caused the highest average energy loss for all window types because it had the highest average external wind speed throughout the year. Thus, energy-conserving architecture should consider infiltration, avoiding louver windows and southern windows in air-conditioned buildings. In conclusion it is found that the louver type window is a very wasteful system for air-conditioned building. The maximum loss energy for 1 sq.m can be as much as 3390 tons-hour/year/sq.m and the infiltration is still occur on opaque masonry wall. However the leakage is quite low and about 1.0 tons-hour/year/sq.m. The results of this study will be very useful for all the designers in order to create a building with minimum less of energy usage from the infiltration throught wall and windows. 2007-11-06T10:18:41Z 2007-11-06T10:18:41Z 2543 Thesis 9741312652 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4600 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7965911 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย