ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515-
Other Authors: อัมพร ม้าคนอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/502
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.502
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
คณิตศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
เรขาคณิต--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จีโอมิเตอร์'ส สเกตแพด (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)
ปรแกรมคอมพิวเตอร์
spellingShingle คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
คณิตศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
เรขาคณิต--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จีโอมิเตอร์'ส สเกตแพด (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)
ปรแกรมคอมพิวเตอร์
วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515-
ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 อัมพร ม้าคนอง
author_facet อัมพร ม้าคนอง
วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515-
format Theses and Dissertations
author วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515-
author_sort วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515-
title ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
title_short ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
title_full ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
title_fullStr ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
title_full_unstemmed ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
title_sort ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม the geometer's sketchpad
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/502
_version_ 1681410695052132352
spelling th-cuir.5022007-12-19T07:48:20Z ผลของการพัฒนามโนทัศน์ทางเรขาคณิตและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad The effects of using the Geometer's Sketchpad on the development of geometrical concepts and attitudes towards mathematics learning of lower secondary school students วัชรสันต์ อินธิสาร, 2515- อัมพร ม้าคนอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) คณิตศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน เรขาคณิต--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จีโอมิเตอร์'ส สเกตแพด (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) ปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 วัตถุประสงค์ของการวิจัย : 1. เพื่อศึกษามโนทัศน์ทางเรขาคณิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad 2. เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางเรขาคณิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad 3. เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางเรขาคณิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ หลังเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad 4. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad 5. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ หลังเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสุรนารีวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2547 จำนวน 60 คน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ใช้เวลาในการสอนทั้งหมด 5 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์และแบบทดสอบวัดมโนทัศน์ทางเรขาคณิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ทดสอบค่าที (t-test) วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way analysis of variance) และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่ามัชฌิมเลขคณิตเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ (Sheffe' method) สรุปผลการวิจัย : 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีมโนทัศน์ทางเรขาคณิตหลังการเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ มีมโนทัศน์ทางเรขาคณิตหลังการเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ มีมโนทัศน์ทางเรขาคณิตหลังเรียนโดยใช้โปรแกรม The purposes of this research were : 1. to study geometrical concepts of lower secondary school students learning by using The Geometer’s Sketchpad. 2. to compare geometrical concepts of lower secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements before and after learning by using The Geometer’s Sketchpad. 3. to compare geometrical concepts among of the secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad. 4. to compare attitudes towards mathematics learning of the secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements before and after learning by using The Geometer’s Sketchpad. 5. to compare attitudes towards mathematics learning among the secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad. The subjects of this study were 60 mathayom suksa three students of Suranariwittaya School Nakhornrajasima Province. The research instruments were the attitude towards mathematics learning test and geometrical concept test. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation, percentage, t-test, one way analysis of variance and Sheffe′ method. The research results were revealed that : 1. geometrical concepts of lower secondary school students after learning by using The Geometer’s Sketchpad met the criteria of 50 percent. 2. geometrical concepts of lower secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad were higher than that before using The Geometer’s Sketchpad at 0.05 level of significance. 3. geometrical concepts of lower secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad were different at 0.05 level of significance. However, geometrical concepts of lower secondary school students with high mathematics learning achievements were higher than those of the medium and the low ones. Moreover, geometrical concepts of lower secondary school students with medium mathematics learning achievements were higher than those of the low ones. 4. attitudes towards mathematics learning of lower secondary school students with high and medium mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad were higher than that before using The Geometer’s Sketchpad and those of students with low mathematics learning achievements were not different at 0.05 level of significance. 5. attitudes towards mathematics learning of lower secondary school students as classified by high, medium and low mathematics learning achievements after learning by using The Geometer’s Sketchpad were different at 0.05 level of significance. However, attitudes towards mathematics learning of lower secondary school students with high mathematics learning achievements were higher than those of the medium and the low ones. Moreover, attitudes towards mathematics learning of lower secondary school students with medium mathematics learning achievements were higher than those of the low ones. 2006-06-24T08:42:12Z 2006-06-24T08:42:12Z 2547 Thesis 9745320722 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/502 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2657294 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย