ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2016
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50859 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.50859 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 |
author2 |
ปาหนัน เริงสำราญ |
author_facet |
ปาหนัน เริงสำราญ ศศิธร พงษ์สำราญกุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศศิธร พงษ์สำราญกุล |
spellingShingle |
ศศิธร พงษ์สำราญกุล ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
author_sort |
ศศิธร พงษ์สำราญกุล |
title |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
title_short |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
title_full |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
title_fullStr |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
title_full_unstemmed |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
title_sort |
ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2016 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50859 |
_version_ |
1681411894505635840 |
spelling |
th-cuir.508592017-03-01T05:08:02Z ไรโซเบียมและแบคทีเรียจากดินเพื่อการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง RHIZOBIA AND SOIL BACTERIA FOR GROWTH PROMOTION OF SOYBEAN ศศิธร พงษ์สำราญกุล ปาหนัน เริงสำราญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองและประเมินแบคทีเรียที่มีสมบัติในการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลือง ตลอดจนแบคทีเรียที่สามารถยับยั้งการเจริญของราที่ก่อโรคในถั่วเหลือง ซึ่งแบคทีเรียเหล่านี้อาจสามารถทำงานร่วมกันได้ แบคทีเรียในดินและแบคทีเรียปมรากพืชตระกูลถั่วจำนวน 100 ไอโซเลต ได้รับการทดสอบสำหรับความสามารถในการยับยั้งการเจริญของราหลายชนิดที่ก่อโรคในถั่วเหลือง ซึ่งได้แก่ Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum sp., Curvularia sp., Fusarium oxysporum และ Rhizoctonia solani นอกจากนี้ สมบัติในการส่งเสริมการเจริญของถั่วเหลืองโดยไอโซเลตเหล่านี้ก็ได้รับการประเมินด้วย ผลการทดลองพบว่าแบคทีเรียในดินจำนวน 11 ไอโซเลต สามารถผลิตเอนไซม์ที่ยับยั้งรา ซึ่งรวมถึง โปรตีเอสและเซลลูเลส ไอโซเลตเหล่านี้ผลิตกรดอินโดล-3-อะซีติกในปริมาณเล็กน้อย และไซเดอโรฟอร์ในปริมาณสูง ลักษณะสมบัติทางสัณฐานวิทยา, สรีรวิทยา, และชีวเคมี รวมถึงลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S rDNA แสดงว่า แบคทีเรียในดิน 11 ไอโซเลตเหล่านี้มีความเหมือน 99% กับแบคทีเรียในสกุล Bacillus ลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S rDNA พบว่า 6 ไอโซเลตของแบคทีเรียปมรากพืชตระกูลถั่วจัดเป็น Bradyrhizobium japonicum และ 1 ไอโซเลต จัดเป็น Bradyrhizobium elkanii แบคทีเรียกลุ่มหลังนี้ไม่มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของราและไม่มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งรา อย่างไรก็ตาม แบคทีเรียกลุ่มนี้มีลักษณะสมบัติในการส่งเสริมการเจริญของพืช ซึ่งรวมถึง การผลิตกรดอินโดล-3-อะซีติก และไซเดอโรฟอร์, ความสามารถในการตรึงไนโตรเจนและการสร้างปม สองไอโซเลตของแบคทีเรียปมรากพืช ได้แก่ B. japonicum 01010 และ B. elkanii 01027 สามารถผลิตปริมาณที่สูงของกรดอินโดล-3-อะซีติก ที่ 80 µg/ml และ 42 µg/ml, ตามลำดับ Bacillus sp. N13/2 ซึ่งมีสมบัติต้านรา และ B. japonicum 01023 ซึ่งมีสมบัติส่งเสริมการเจริญของพืช สามารถเจริญร่วมกันและใช้เป็นเชื้อผสมได้ การใส่เชื้อผสมร่วมกันของไอโซเลตเหล่านี้โดยไม่มีราพบว่า ส่งเสริมผลผลิตโดยรวมของถั่วเหลืองได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อันเป็นผลมาจากลักษณะสมบัติการส่งเสริมการเจริญของพืชของแบคทีเรียทั้งสองไอโซเลต อย่างไรก็ตาม การใส่เชื้อผสมร่วมกันยังไม่เพียงพอที่จะป้องกันการเกิดโรคในถั่วเหลืองได้ภายใต้ภาวะที่ทดสอบ The aims of this work were to screen and evaluate the bacterial isolates with plant growth promoting characteristics, as well as suppressing the growth of pathogenic fungi in soybean in which these bacteria might have combination effects. One hundred isolates of soil bacteria and root nodule-forming-bacteria from leguminous plants were tested for their abilities to inhibit the growth of several fungal pathogen of soybean including Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum sp., Curvularia sp., Fusarium oxysporum and Rhizoctonia solani. In addition, plant growth promotion abilities of these isolates were also evaluated. The results revealed that eleven isolates of soil bacteria were able to produce antifungal enzymes including protease and cellulase. Moreover, they produced low amount of indole-3-acetic acid, and high amount of siderophore. Morphological, physiological, and biochemical characteristics and 16S rDNA sequence revealed that these eleven isolates of soil bacteria had 99% identity to bacteria in the genus Bacillus. 16S rDNA sequencing demonstrated that six isolates of root nodule-forming-bacteria belong to Bradyrhizobium japonicum and one isolate belongs to Bradyrhizobium elkanii. The latter group of bacteria had neither antifungal activity nor antifungal enzyme production. However, they possessed plant growth promoting characteristics including indole-3-acetic acid and siderophore productions, and nitrogen fixation and nodulation abilities. Two isolates, B. japonicum 01010 and B. elkanii 01027, could produce high amount of indole-3-acetic acid at 80 µg/ml and 42 µg/ml, respectively. Bacillus sp. N13/2 that had antifungal ability and B. japonicum 01023 that had plant growth promoting ability were able to grow together and used as mixed culture. Co-inoculation of these isolates, without fungus, significantly promoted overall yields of soybean due to the plant growth promoting characteristics of both bacteria. However, the co-inoculation was not enough to prevent disease development in soybean under the tested condition. 2016-12-02T02:05:20Z 2016-12-02T02:05:20Z 2558 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50859 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |