การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทาลัย, 2543

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชัชพล มงคลิก
Other Authors: ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5361
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.5361
record_format dspace
spelling th-cuir.53612008-01-09T04:35:31Z การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ Interactive production scheduling and sequencing : a case study of an automotive parts industry ชัชพล มงคลิก ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ การกำหนดงานการผลิต การกำหนดงานการผลิต -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ความไม่แน่นอน (การผลิต) วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทาลัย, 2543 เพื่อเสนอวิธีการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบและสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้วิธีการจัดตารางการผลิตแบบแอคทีฟโดยใช้วิธีบรานช์แอนด์บาวด์โดยไม่มีการคำนวณย้อนกลับด้วยวิธีการหาโลเวอร์บาวด์แบบใหม่ที่เสนอ (Branch and Bound without Backtracking-Proposed Lower Bound) วิธีการหาโลเวอร์บาวด์แบบใหม่พัฒนามาจากวิธีการหาโลเวอร์บาวด์แบบเดิมเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของอุตสาหกรรมที่เป็นกรณีศึกษาคือ การลดปัญหาการส่งมอบงานล่าช้า ในการทดลองเพื่อวิเคราะห์หากฎและวิธีการจัดตารางการผลิตที่เหมาะสมพบว่า กฎการจัดตารางการผลิต วิธีการจัดตารางการผลิต และปัจจัยร่วมระหว่างกฎและวิธีการจัดตารางการผลิต เป็นปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของตารางการผลิต กฎและวิธีการจัดตารางการผลิตที่ให้ประสิทธิภาพของตารางการผลิตโดยเฉพาะวัตถุประสงค์ในการลดจำนวนงานล่าช้าและเวลาล่าช้าของงานโดยเฉลี่ย คือ วิธีการจัดตารางการผลิตแบบแอคทีฟโดยใช้วิธีบรานช์แอนด์บาวด์โดยไม่มีการคำนวณย้อนกลับด้วยวิธีการหาโลเวอร์บาวด์แบบใหม่ที่เสนอ ในการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเวลาในการจัดตารางการผลิตโดยใช้โปรแกรมการจัดตารางการผลิตที่ผู้วิจัยออกแบบและพัฒนาขึ้นพบว่า กฎและวิธีการจัดตารางการผลิต จำนวนขั้นตอนการทำงาน และปัจจัยร่วม เป็นปัจจัยที่มีผลต่อเวลาในการจัดตารางการผลิต และจากการวิเคราะห์ความไวของเวลาในการจัดตารางผลิตพบว่า เวลาในการจัดตารางการผลิตมีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงจำนวนขั้นตอนการทำงาน อย่างไรก็ตามวิธีการจัดตารางการผลิตแบบใหม่ที่เสนอสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมที่เป็นกรณีศึกษาได้ เนื่องจากเวลาในการจัดตารางการผลิตของโปรแกรมการจัดตารางการผลิตอยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ สำหรับการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการจัดตารางการผลิตแบบใหม่ที่เสนอกับวิธีการจัดตารางการผลิตแบบเดิมของโรงงานที่เป็นกรณีศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากการผลิตจริงในเดือนธันวาคม 2543 พบว่า เมื่อจัดตารางการผลิตโดยใช้วิธีการจัดตารางการผลิตโดยใช้วิธีการจัดตารางการผลิตแบบใหม่ที่เสนอทำให้ได้ตารางการผลิตซึ่งมีจำนวนงานล่าช้าและเวลาล่าช้าของงานโดยเฉลี่ยลดลงจากวิธีการจัดตารางการผลิตแบบเดิม 55.56% และ 63.31% ตามลำดับ Proposes interactive production scheduling and develop software for scheduling. An algorithm to generate active schedules using branch and bound without backtracking-proposed lower bound is proposed and used in the scheduling software. Two experiments are conducted. The objective of the first experiment is to find the appropriate approach to generate schedules, which are suitable for the objectives: minimizing number of tardy jobs and mean tardiness. The algorithm to generate active schedules using branch and bound without backtracking-proposed lower bound is the most appropriate approach in the first experiment. The objective of the second experiment is to study factors that affect time to generate active schedules using the proposed algorithm. The factors that affect time are heuristics, number of operations and their interactions. According to the sensitivity analysis, time to generate active schedules using the proposed algorithm is sensitive to the number of operations. The comparison using real production data in December 2000 between the algorithm to generate active schedules using branch and bound without backtracking-proposed lower bound and the factory's approach to generate schedules is conducted. The result indicates that the number of tardy jobs decreases by 55.56% and mean tardiness decreases by 63.31% when the proposed algorithm is used 2008-01-09T04:35:06Z 2008-01-09T04:35:06Z 2543 Thesis 9741302371 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5361 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5122771 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การกำหนดงานการผลิต
การกำหนดงานการผลิต -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความไม่แน่นอน (การผลิต)
spellingShingle การกำหนดงานการผลิต
การกำหนดงานการผลิต -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความไม่แน่นอน (การผลิต)
ชัชพล มงคลิก
การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทาลัย, 2543
author2 ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ
author_facet ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ
ชัชพล มงคลิก
format Theses and Dissertations
author ชัชพล มงคลิก
author_sort ชัชพล มงคลิก
title การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
title_short การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
title_full การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
title_fullStr การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
title_full_unstemmed การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
title_sort การจัดลำดับการผลิตและการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5361
_version_ 1681409651637223424