ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วนิดา ทรัพย์สุข
Other Authors: วนิดา จีนศาสตร์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5448
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.5448
record_format dspace
spelling th-cuir.54482008-01-14T11:51:26Z ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร effect of indoor respirable particulates and nitrogen dioxide among housewives and children in Bangkok วนิดา ทรัพย์สุข วนิดา จีนศาสตร์ สว่าง แสงหิรัญวัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย มลพิษทางอากาศ ฝุ่น ไนโตรเจนไดออกไซด์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 ศึกษาผลกระทบของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ภายในที่พักอาศัยที่มีต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถาม ATS-DLD-78A ฉบับภาษาไทยและการตรวจสมรรถภาพปอดแม่บ้านในกลุ่มกรุงเทพฯชั้นใน กลุ่มกรุงเทพฯชั้นนอก และกลุ่ม อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ปริมาณฝุ่น PM10 ภายในที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 77.9+-29.7 microgram/cubic meter 58.4+-21.9 microgram/cubic meter และ 85.4+-17.1 microgram/cubic meter ตามลำดับ ปริมาณฝุ่น PM10 ภายนอกที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 89.2+-32.5 microgram/cubic meter 71.3+-20.1 microgram/cubic meter และ 82.1+-23.8 microgram/cubic meter ตามลำดับ ปริมาณ PM2.5 ภายในที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 24.6+-9.6 microgram/cubic meter 20.7+-10.7 microgram/cubic meter และ 32.8+-8.5 microgram/cubic meter ตามลำดับ ปริมาณฝุ่น PM2.5 ภายนอกที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 29.7+-11.5 microgram/cubic meter 25.8+-9.8 microgram/cubic meter และ 29.7+-10.2 microgram/cubic meter ตามลำดับ ปริมาณ nitrogen oxide ภายในที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 80.9+-38.1 ppb 59.4+-36.7 ppb และ 26.8+-18.0 ppb ตามลำดับ ปริมาณ nitrogen oxide ภายนอกที่พักอาศัยมีค่าเฉลี่ย 98.8+-45.0 ppb 75.2+-64.6 ppb และ 21.0+-5.8 ppb ตามลำดับ อาการของโรคระบบทางเดินหายใจ NSRD และ PCP จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่ากลุ่มกรุงเทพฯชั้นนอกมีภาวะสุขภาพดีกว่ากลุ่ม อ.พิมาย จ.นครราชสีมาและกลุ่มกรุงเทพฯชั้นในตามลำดับ และผลการทดสอบสมรรถภาพปอดก็ให้ผลเช่นเดียวกับการวิเคราะห์แบบสอบถาม และพบว่าปริมาณฝุ่นมีความสัมพันธ์กับค่าพารามิเตอร์สมรรถภาพปอด FVC, FEV1, MMEF และ V50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p<0.05 ส่วนปริมาณ nitrogen oxide นั้นพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณฝุ่นและค่าพารามิเตอร์สมรรถภาพปอด Health effects of indoor respirable particulates and nitrogen dioxide among housewives and children in Bangkok had been studies using a modified Thai version of ATS-DLD-78A and spirometric test for lung function. In this study we concentrate on Inner Bangkok area, Sub-urban area, and Amphoe Phimai Nakornratchasima Province. The 24 hrs. average concentrations of indoor particulate matter (PM10) at these areas were 77.9+-29.7 microgram/cubic meter 58.4+-21.9 microgram/cubic meter and 85.4+-17.1 microgram/cubic meter, respectively. Concerning on the outdoor particulate matter (PM10), the concentrations were 89.2+-32.5 microgram/cubic meter 71.3+-20.1 microgram/cubic meter and 82.1+-23.8 microgram/cubic meter, respectively. Average concentrations of indoor fine particulate matter (PM2.5) were 24.6+-9.6 microgram/cubic meter 20.7+-10.7 microgram/cubic meter and 32.8+-8.5 microgram/cubic meter, respectively. Average concentrations of outdoor fine particulate matter (PM2.5) were 29.7+-11.5 microgram/cubic meter 25.8+-9.8 microgram/cubic meter and 29.7+-10.2 microgram/cubic meter, respectively. The indoor nitrogen oxide were 80.9+-38.1 ppb 59.4+-36.7 ppb and 26.8+-18.0 ppb, respectively. The outdoor nitrogen oxide were 98.8+-45.0 ppb 75.2+-64.6 ppb and 21.0+-5.8 ppb respectively. The symptoms of respiratory disease of NSRD and PCP from questionnaire analysis and lung function test FVC, FEV1, MMEF and V50 indicated that Sub-urban area was better health than the Amphoe Phimai Nakornratchasima Province and the Inner Bangkok area. In addition, the results suggested some association between particulate concentration and various lung functions. However, nitrogen oxide concentrations did not relate to particulate concentration and various lung functions (p<0.05). 2008-01-14T11:51:26Z 2008-01-14T11:51:26Z 2543 Thesis 9741311311 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5448 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1999973 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic มลพิษทางอากาศ
ฝุ่น
ไนโตรเจนไดออกไซด์
spellingShingle มลพิษทางอากาศ
ฝุ่น
ไนโตรเจนไดออกไซด์
วนิดา ทรัพย์สุข
ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
author2 วนิดา จีนศาสตร์
author_facet วนิดา จีนศาสตร์
วนิดา ทรัพย์สุข
format Theses and Dissertations
author วนิดา ทรัพย์สุข
author_sort วนิดา ทรัพย์สุข
title ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
title_short ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
title_full ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
title_sort ผลของฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ภายในที่พักอาศัย ต่อสุขภาพของแม่บ้านและเด็กในกรุงเทพมหานคร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5448
_version_ 1681410498463006720