การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จิราพร สาลี
Other Authors: จินตนา ยูนิพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5482
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.5482
record_format dspace
spelling th-cuir.54822008-01-16T04:06:12Z การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี A study of nursing staffing based on nursing needs in neonatal intensive care unit : a case study in Queen Sirikit National Institute of Child Health จิราพร สาลี จินตนา ยูนิพันธุ์ สุวิณี วิวัฒน์วานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ อุปทานแรงงาน กำลังคน บุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรโรงพยาบาล สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริมาณความต้องการทางการพยาบาลของผู้ป่วยจำแนกตามประเภทของผู้ป่วย ของหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด ศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลที่ควรจะเป็นในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด และศึกษาความเหมาะสมของการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรพยาบาลได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ 14 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 6 คน คนงาน 2 คน และผู้บริหารทางการพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดอัตรากำลังของหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 5 คน ผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิดที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด จำนวน 684 คน โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 4 ประเภทคือ ผู้ป่วยต้องการการพยาบาลระดับน้อย ระดับปานกลาง ระดับมาก และระดับมากที่สุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คู่มือการจำแนกประเภทผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด แบบบันทึกเวลากิจกรรมพยาบาลของบุคลากรทางการพยาบาล แบบบันทึกกิจกรรมการพยาบาลโดยตรงของผู้ป่วยแต่ละประเภท ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าดัชนีความสอดคล้องของการสังเกตเท่ากับ 0.94, 1.0, และ 0.87 ตามลำดับ และแบบสอบถามความเหมาะสมในการจัดอัตรากำลัง คำนวณอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลใช้สูตรการคำนวณของกองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข (2545) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยประเภทที่ 1, 2, 3, และ 4 ใน 24 ชั่วโมง เท่ากับ 12.58 ชั่วโมง, 13.24 ชั่วโมง, 14.50 ชั่วโมง, และ 15.26 ชั่วโมง ตามลำดับ 2. อัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลที่ควรจะเป็นของหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ต้องการพยาบาลวิชาชีพ 15 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 7 คน และคนงาน 8 คน 3. ผู้บริหารทางการพยาบาล และพยาบาลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดอัตรากำลัง มีความเห็นด้วยเกี่ยวกับกระบวนการจัดอัตรากำลังและเห็นว่ามีความเหมาะสมในการนำไปใช้ในการบริหารจัดการด้านอ้ตรากำลังของหน่วยงาน The purposes of this descriptive research were to determine nursing needs demanded by patient in each classification, and to determine the appropriate nursing staffing in neonatal intensive care unit based on nursing needs, Queen Sirikit National Institue of Child Health. Research samples consisted of nursing staff, 14 registered nurses, 5 nurse aids, and 2 workers, 5 nurse staffing authorities, and 689 critical neonatal patients which were classified into four categories, namely patients required minimum, moderate, maximum, and Intensive nursing care. Research instruments were a critical neonatal patient classification checklist, a nursing care time checklist, and a nursing activities checklist. All checklists were tested for content validity and their interater score, which were 1.0, 0.87 and 0.94, respectively. Nursing staffing related data were calculated by the formula reported by Nursing Division, MOPH (2002). The major findings were as follows: 1. The average nursing time required in 24 hours by critical neonatal patients in catagory 1, 2, 3, and 4 were 12.58 hours, 3.24 hours, 14.50 hours, and 15.26 hours, respectively. 2. The numbers of nursing personnel needed in neonatal intensive care unit based on nursing needs were 15 registered nurses, 7 nurse aids and 8 workers. 3. The nurse staffing authorities agreed to the nurse staffing process and its appropriateness to be utilized in the nurse staffing management in their units. 2008-01-16T04:06:12Z 2008-01-16T04:06:12Z 2546 Thesis 9741734352 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5482 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2408726 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อุปทานแรงงาน
กำลังคน
บุคลากรทางการแพทย์
บุคลากรโรงพยาบาล
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด
spellingShingle อุปทานแรงงาน
กำลังคน
บุคลากรทางการแพทย์
บุคลากรโรงพยาบาล
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด
จิราพร สาลี
การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 จินตนา ยูนิพันธุ์
author_facet จินตนา ยูนิพันธุ์
จิราพร สาลี
format Theses and Dissertations
author จิราพร สาลี
author_sort จิราพร สาลี
title การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
title_short การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
title_full การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
title_fullStr การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
title_full_unstemmed การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
title_sort การศึกษาการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลตามความต้องการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5482
_version_ 1681410151113818112