ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ

วิทยานิพนธ์(พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วัสสิกา สิงห์โตทอง
Other Authors: ชนกพร จิตปัญญา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5724
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.5724
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
ความวิตกกังวล
การพยาบาล
กล้ามเนื้อ
spellingShingle โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
ความวิตกกังวล
การพยาบาล
กล้ามเนื้อ
วัสสิกา สิงห์โตทอง
ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
description วิทยานิพนธ์(พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2545
author2 ชนกพร จิตปัญญา
author_facet ชนกพร จิตปัญญา
วัสสิกา สิงห์โตทอง
format Theses and Dissertations
author วัสสิกา สิงห์โตทอง
author_sort วัสสิกา สิงห์โตทอง
title ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
title_short ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
title_full ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
title_fullStr ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
title_full_unstemmed ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
title_sort ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5724
_version_ 1681410498990440448
spelling th-cuir.57242008-02-01T03:04:03Z ผลของการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่อความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการ Effects of using muscle relaxation, emg biofeedback incoporate with training program on anxiety and knowledge of staff nurses in caring of patients with ventilator วัสสิกา สิงห์โตทอง ชนกพร จิตปัญญา พวงเพ็ญ ชุณหปราณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ความวิตกกังวล การพยาบาล กล้ามเนื้อ วิทยานิพนธ์(พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2545 การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวล และความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่อง ช่วยหายใจก่อนและหลังการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรม และเปรียบเทียบความวิตกกังวลและความรู้ระหว่างกลุ่มที่ใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมกับกลุ่มที่ได้รับการฝึกอบรม ตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยสามัญที่มีผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จำนวน 30 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 15 คน และกลุ่มควบคุม 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องอี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบครุ่น MYOMED 932, แผนการสอนการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้รับการฝึกอบรม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความวิตกกังวล แบบทดสอบความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยการหาความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบวัดความวิตกกังวล และแบบทดสอบความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจเท่ากับ .84 และ .54 ตามลำดับ ค่าอำนาจจำแนกและค่าความยากง่ายของแบบทดสอบความรู้ในการพยาบาล ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจเท่ากับ 0-1 และ 0.27-0.06 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยความวิตกกังวลในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการภายหลัง การใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไอโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมต่ำกว่าก่อนการใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของพยาบาลประจำการภายหลังการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าเฉลี่ยความวิตกกังวลของกลุ่มทดลองหลังการใช้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม 4. ค่าเฉลี่ยความรู้ในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจของกลุ่มทดลองหลังการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อี เอ็ม จี ไบโอฟีดแบค ร่วมกับการฝึกอบรมไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม The purposes of this quasi-experimental research were to compare the anxiety and knowledge of staff nurses before and after receiving muscle relaxation, EMG biofeedback, incorporate with training program and to compare the anxiety and knowledge after the experiment between staff nurses in the experimental and control group. Research subjects were 30 staft nurses from Medical Department of Uttaradit Hospital which randomly assigned into experimental (15 and control group (15). Research instruments were EMG biofeedback Myomed 932, caring of patients with ventilator lesson plan, demographic data, anxiety scale and test of caring of patients with ventilator. These instruments were developed by the researcher and content validity were approved by a the group of experts. the internal reliability of anxiety scale and test of caring of patients with ventilator were .84 and .54, respectively. Level of difficulty power and level of discriminant were between 0-1 and 0.27-0.6 statistical techniques used in data analysis were mean, standard deviation, t-test and ANCOVA. The major findings were as followings : 1. Mean score of anxiety in caring of patients with ventilator after receiving muscle relaxation, EMG biofeedback incorporate with training program was lower than before, and significant at the .05 level. 2. Mean score of knowledge in caring of patients with ventilator after receiving muscle relaxation, EMG biofeedback incorporate with training program was higher than before, and significant at the .05 level. 3. Mean score of anxiety of the experimental group after receiving muscle relaxation, EMG biofeedback incorporate with training program was not different from the control group. 4. Mean score of knowledge in caring of patients with ventilator in the experimental group after receiving muscle relaxation, EMG biofeedback incorporate with training program was not different from the control group. 2008-02-01T03:04:02Z 2008-02-01T03:04:02Z 2545 Thesis 9741733577 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5724 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1602999 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย