ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5944 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.5944 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โรงพยาบาลศูนย์ หอผู้ป่วย การจูงใจ (จิตวิทยา) การพยาบาลเป็นทีม กลุ่มทำงาน |
spellingShingle |
โรงพยาบาลศูนย์ หอผู้ป่วย การจูงใจ (จิตวิทยา) การพยาบาลเป็นทีม กลุ่มทำงาน ลดาวัลย์ ปฐมชัยคุปต์ ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
author2 |
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร |
author_facet |
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร ลดาวัลย์ ปฐมชัยคุปต์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ลดาวัลย์ ปฐมชัยคุปต์ |
author_sort |
ลดาวัลย์ ปฐมชัยคุปต์ |
title |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
title_short |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
title_full |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
title_sort |
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5944 |
_version_ |
1681411192182013952 |
spelling |
th-cuir.59442008-02-22T04:03:00Z ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ Relationships between motivating language of head nurses, nursing teamwork, effective followership of staff nurses, and effectiveness of patient units, regional hospital and medical centers ลดาวัลย์ ปฐมชัยคุปต์ บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลศูนย์ หอผู้ป่วย การจูงใจ (จิตวิทยา) การพยาบาลเป็นทีม กลุ่มทำงาน วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 362 คน ซึ่งได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามการใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมการพยาบาล ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .96, .94, .90 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับมาก (3.90) 2. การใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.564) 3. การทำงานเป็นทีมการพยาบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.628) 4. ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.657) 5. ตัวแปรพยากรณ์ทุกตัว ได้แก่ ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ การทำงานเป็นทีมการพยาบาล การใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้ 58% (R2=.58) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ Z ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย=.413 * Z ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ+.287 * Z การทำงานเป็นทีมการพยาบาล+.229 * Z การใช้ภาษาในการจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย To study the relationships between motivating language of head nurses, nursing teamwork, effective followership of staff nurses, and effectiveness of patient units, Regional Hospital and Medical Centers, and to determine the variables which could predict effectiveness of patient units. The samples consisted of 362 staff nurses worked in patient units not less than 1 year, selected by stratified random sampling technique. The research instruments were motivating language of head nurses, nursing teamwork, effective followership of staff nurses, and effectiveness of patient units questionnaires which were developed by the researcher, judged by the panel of experts, and Cronbach{174}s alpha coefficients of reliability were .96, .94, .90, and .89 respectively. Statistical technique used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis.The major findings were as follows 1. Mean score of effectiveness of patient units, Regional Hospital and Medical Centers was at the high level (3.90). 2. Motivating language of head nurses and effectiveness of patient units was moderately and significantly correlated. (r=.564, p< .001) 3. Nursing teamwork and effectiveness of patient units was moderately and significantly correlated (r=.628, p<.001). 4. Effective followership of staff nurses and effectiveness of patient units was moderately and significantly correlated (r=.657, p<.001). 5. The regression result indicated that 58% of effectiveness of patient units was explained by effective followership of staff nurses, nursing teamwork, and motivating language of head nurses (R2=.58, p<.001). The equation derived from the analysis was as follow : Z Effectiveness of patient units=.413 * Z Effective followership of staff nurses+ .287 * Z Nursing teamwork+.229 * Z Motivating languag e of head nurses 2008-02-22T04:02:59Z 2008-02-22T04:02:59Z 2545 Thesis 9741722354 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5944 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1222656 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |