การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วรชาติ สุวรรณวงศ์
Other Authors: สวัสดิ์ชัย เกรียงไกรเพชร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6001
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6001
record_format dspace
spelling th-cuir.60012008-02-26T05:54:47Z การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด Determination of perception properties of tactile variables and design of appropriate symbols for tactile maps วรชาติ สุวรรณวงศ์ สวัสดิ์ชัย เกรียงไกรเพชร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ แผนที่ การทำแผนที่ คนตาบอด แผนที่สำหรับคนตาบอด วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 ศึกษาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรเชิงสัมผัสสำหรับแผนที่ภาพนูน รวมถึงการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสมสำหรับแผนที่ภาพนูน อันจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบและสร้างแผนที่สำหรับคนตาบอด เรื่องที่ศึกษาในงานวิจัยนี้ครอบคลุมถึงการหาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรเชิงสัมผัสกับระดับการรับรู้ การหามิติที่เล็กที่สุดของสัญลักษณ์ภาพนูนที่สามารถใช้งานได้ และขนาดที่เหมาะสมในการใช้งานจริง และการหาจำนวนทิศทางการหันเหของสัญลักษณ์ภาพนูน ที่คนตาบอดสามารถแยกแยะความแตกต่างได้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยการทดลองและสัมภาษณ์คนตาบอดจำนวนหนึ่ง เครื่องมือหลักที่ใช้ในการทดลองเป็นสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูน ซึ่งได้จากกระบวนการผลิตชนิดสเวล เปเปอร์ ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ของคนตาบอด จากการสัมผัสสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูนต่อตัวแปรตำแหน่ง ทิศทาง ลวดลาย และขนาด มีผลคล้ายคลึงกับการรับรู้ของคนตาดี ที่ใช้สายตามองดูแผนที่สำหรับคนตาปกติ ส่วนที่แตกต่างกันคือตัวแปรรูปร่างและความเข้มอ่อน ซึ่งคนตาบอดสามารถรับรู้ได้ถึงระดับที่สามารถแยกแยะคัดสรรได้ดีถึงดีมาก ในส่วนของการศึกษาเรื่องมิติของสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูนของคนตาบอด ได้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขของมิติที่เล็กที่สุด และที่เหมาะสมในการใช้งานจริง ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้เราได้กฎเกณฑ์พื้นฐาน ในการออกแบบสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูน อันจะเป็นประโยชน์ในการทำแผนที่สำหรับคนตาบอดให้ได้ผลดีต่อไป To determine the perception properties of tactile variables and to design symbols for tactile maps. The study cover the determination of relationship between tactile variables and perception properties, the determination of minimum symbol sizes that can be identified correctly and the appropriate sizes that should be used in the design and construction of tactile maps for the blind people. The method employed in this study was a survey research comprising experimenting and interviewing a group of blind people. The tool used in the experiment was specially designed tactile graphics made at the Thai National Institute of the Blind using swell paper method. The results of the study show that the perception properties of the blind people on the tactile graphics are similar to the perception of normal people on visual graphics for almost all variables. Only the form and value variables yielded different result, in this case, the blind people{174}s perception reaches the selective level. The study on the dimensions of tactile graphics has resulted in a set of minimum sizes of map symbols that can be identified correctly and also a set of appropriate sizes of the symbols that can be use effectively. Results of these studies provide useful guideline and specifications for the design and construction of appropriate tactile maps and graphics for the v impaired people. 2008-02-26T05:54:46Z 2008-02-26T05:54:46Z 2546 Thesis 9741735669 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6001 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2346471 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic แผนที่
การทำแผนที่
คนตาบอด
แผนที่สำหรับคนตาบอด
spellingShingle แผนที่
การทำแผนที่
คนตาบอด
แผนที่สำหรับคนตาบอด
วรชาติ สุวรรณวงศ์
การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 สวัสดิ์ชัย เกรียงไกรเพชร
author_facet สวัสดิ์ชัย เกรียงไกรเพชร
วรชาติ สุวรรณวงศ์
format Theses and Dissertations
author วรชาติ สุวรรณวงศ์
author_sort วรชาติ สุวรรณวงศ์
title การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
title_short การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
title_full การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
title_fullStr การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
title_full_unstemmed การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
title_sort การหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6001
_version_ 1681411310018887680