การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย

การสร้างกระดูกขึ้นมาใหม่ เป็นขั้นตอนที่สำคัญในการรักษาและฟื้นฟูสภาพการทำงานของอวัยวะและร่างกายจากโรคที่ทำลายกระดูก เช่น โรคปริทันต์และภาวะโรคกระดูกพรุน โดยทั่วไปขั้นตอนการสร้างกระดูก ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนที่ต่อเนื่องกัน คือ การแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ การพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์สร้างกระดูก และก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พสุธา ธัญญะกิจไพศาล
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6159
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6159
record_format dspace
spelling th-cuir.61592008-03-05T04:36:32Z การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย The Effect of aloe vera gel extract on the enzyme level of alkaline phosphatase and calcification in osteoblasts derived from the bone marrow stromal cell พสุธา ธัญญะกิจไพศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ โรคปริทันต์ อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส ว่านหางจระเข้ เซลล์สร้างกระดูก การสร้างกระดูกขึ้นมาใหม่ เป็นขั้นตอนที่สำคัญในการรักษาและฟื้นฟูสภาพการทำงานของอวัยวะและร่างกายจากโรคที่ทำลายกระดูก เช่น โรคปริทันต์และภาวะโรคกระดูกพรุน โดยทั่วไปขั้นตอนการสร้างกระดูก ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนที่ต่อเนื่องกัน คือ การแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ การพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์สร้างกระดูก และการตกตะกอนสารอนินทรีย์ วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของสารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ ที่มีต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ การทำงานของเอนไซม์และระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส รวมทั้งการตกตะกอนของสารอนินทรีย์ของเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก ผลการทดลองพบว่า สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ ที่ระดับความเข้มข้น 10, 20 และ 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลกระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลลดระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสและโปรตีนของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 3 และ 7 วัน ตามลำดับ ในขณะที่สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 1, 5, และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลต่อระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสและการทำงานของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 3 และ 7 วัน สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 1, 5, 10 และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการตกตะกอนสารอนินทรีย์ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 21 วัน ผลการทดลองได้เสนอแนะว่า สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 10 และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลกระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์ แต่ไม่มีผลต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตสและการตกตะกอนสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูก Bone regeneration is an important step for reconstruction of destructive tissues from bone disease such as periodontitis and osteoporosis. Generally, the bone formation is composed of 3 consecutive steps including cell proliferation, osteoblast differentiation and mineralization. Objectives of this study were to investigate the effect of aloe vera gel extract on primary bone marrow proliferation, the activity and mRNA level of enzyme alkaline phosphatase, and mineralization, respectively. The aloe vera gel extract, at protein concentrations 10, 20 and 50 microgram/ml, significantly stimulated cell proliferation. Aloe vera gel, at 50 microgram/ml, significantly reduced the mRNA level and enzyme activity of alkaline phosphatase at 3 and 7 day, respectively. Aloe vera gel, at 1, 5, 10 and 20 microgram/ml, did not affect the mRNA level, enzyme activity of alkaline phosphatase and mineralization. These data suggested that aloe vera gel extract, at 10 and 20 microgram /ml, induced cell proliferation, neither enzyme alkaline phosphatase expression nor mineralization in osteoblast. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-03-05T04:36:31Z 2008-03-05T04:36:31Z 2547 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6159 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1964801 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรคปริทันต์
อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส
ว่านหางจระเข้
เซลล์สร้างกระดูก
spellingShingle โรคปริทันต์
อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส
ว่านหางจระเข้
เซลล์สร้างกระดูก
พสุธา ธัญญะกิจไพศาล
การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
description การสร้างกระดูกขึ้นมาใหม่ เป็นขั้นตอนที่สำคัญในการรักษาและฟื้นฟูสภาพการทำงานของอวัยวะและร่างกายจากโรคที่ทำลายกระดูก เช่น โรคปริทันต์และภาวะโรคกระดูกพรุน โดยทั่วไปขั้นตอนการสร้างกระดูก ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนที่ต่อเนื่องกัน คือ การแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ การพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์สร้างกระดูก และการตกตะกอนสารอนินทรีย์ วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของสารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ ที่มีต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ การทำงานของเอนไซม์และระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส รวมทั้งการตกตะกอนของสารอนินทรีย์ของเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก ผลการทดลองพบว่า สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ ที่ระดับความเข้มข้น 10, 20 และ 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลกระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลลดระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสและโปรตีนของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 3 และ 7 วัน ตามลำดับ ในขณะที่สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 1, 5, และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลต่อระดับอาร์เอ็นเอนำรหัสและการทำงานของเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 3 และ 7 วัน สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 1, 5, 10 และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการตกตะกอนสารอนินทรีย์ เมื่อทดสอบเป็นเวลา 21 วัน ผลการทดลองได้เสนอแนะว่า สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้ที่ระดับความเข้มข้น 10 และ 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีผลกระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์ แต่ไม่มีผลต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตสและการตกตะกอนสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูก
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
พสุธา ธัญญะกิจไพศาล
format Technical Report
author พสุธา ธัญญะกิจไพศาล
author_sort พสุธา ธัญญะกิจไพศาล
title การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
title_short การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
title_full การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
title_fullStr การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
title_full_unstemmed การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
title_sort การศึกษาผลของสารสกัดของว่านหางจระเข้ต่อระดับเอนไซม์อัลคาลินฟอสฟาเตส และการตกผลึกของสารอนินทรีย์ในเซลล์สร้างกระดูกที่แยกจากไขกระดูก : รายงานผลงานวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6159
_version_ 1681409051716485120